1 / 67

ทิศทางอุดมศึกษาไทยในกระแสการปฏิรูปการศึกษา กฤษณพงศ์ กีรติกร

ทิศทางอุดมศึกษาไทยในกระแสการปฏิรูปการศึกษา กฤษณพงศ์ กีรติกร. การอบรมหลักสูตร การพัฒนาผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัย(นบม.)รุ่นที่ 17. โรงแรมเดอะทวิน ทาวเวอร์ 13 มีนาคม 2550. ทิศทางอุดมศึกษาไทยในกระแสการปฏิรูปการศึกษา สภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน แผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว

iorwen
Download Presentation

ทิศทางอุดมศึกษาไทยในกระแสการปฏิรูปการศึกษา กฤษณพงศ์ กีรติกร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางอุดมศึกษาไทยในกระแสการปฏิรูปการศึกษาทิศทางอุดมศึกษาไทยในกระแสการปฏิรูปการศึกษา กฤษณพงศ์ กีรติกร การอบรมหลักสูตร การพัฒนาผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัย(นบม.)รุ่นที่ 17 โรงแรมเดอะทวิน ทาวเวอร์ 13 มีนาคม 2550

  2. ทิศทางอุดมศึกษาไทยในกระแสการปฏิรูปการศึกษาทิศทางอุดมศึกษาไทยในกระแสการปฏิรูปการศึกษา • สภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน • แผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาว • อุดมศึกษาเขตพัฒนาเฉพาะภาคใต้ • แนวโน้มอุดมศึกษาต่างประเทศ

  3. สภาพอุดมศึกษาปัจจุบันสภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน สถาบันอุดมศึกษา เพิ่มขึ้น(Explosion ไม่ใช่ Growth) ขาดแผนหลัก ขาดทิศทาง ขาดโฟกัส ขาดความร่วมมือ ซ้ำซ้อน แย่งชิงนักศึกษา แย่งชิงทรัพยากร การหลอมรวม (Consolidation) สถาบันการศึกษา ทุกสถาบันมีภารกิจร่วมคือสอน วิจัย (สร้างและประยุกต์ความรู้ใหม่) และบริการวิชาการ มีความหลากหลายทางวิชาการวิชาชีพที่อาจแยกเป็น : Academic oriented, Hands on / Professionally – oriented, Community/Region/Society oriented - dedicated จะสร้าง ระบบอุดมศึกษาที่มีทิศทางและคุณภาพ บนฐานของความหลากหลายของสถาบันอุดมศึกษา ได้อย่างไร

  4. สภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน สถาบันอุดมศึกษา ตุลาคม 2549 จำนวนสถาบันอุดมศึกษา ของรัฐ 78 แห่ง เอกชน 63 (+5) แห่ง วิทยาลัยชุมชน 18 แห่ง กรกฎาคม 2549 จำนวนนักศึกษา ระดับต่ำกว่าป.ตรี 0.072 ล้านคน ป.ตรี 1.75 ล้าน บัณทิตศึกษา 0.26 ล้านคน กรกฎาคม 2549บุคลากร ข้าราชการ(กพอ. กพ. กค. กคศ.)89,000 คน พนักงาน(พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานข้าราชการ) 35,000 คน พนักงานและลูกจ้างเงินรายได้หลายหมื่นคน 2549 หลักสูตร อนุมัติ/ปรับปรุงประมาณ 1,700 หลักสูตร

  5. สภาพอุดมศึกษาปัจจุบันจำนวนนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา (ข้อมูล 2004) ไม่รวมวิทยาลัยชุมชน จำนวนสถาบัน จำนวนนักศึกษา สถาบันอุดมศึกษาจำนวนมากมีขนาดเล็ก ความอยู่รอดทางวิชาการและการเงินเป็นอย่างไร

  6. สภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน ทิศทางการผลิตบัณทิต ความสอดคล้องระหว่างอุปสงค์และอุปทาน ทั้งปริมาณและคุณภาพ ทักษะสมัยใหม่: การเรียนรู้ตลอดชีวิต การสื่อสาร ภาษาต่างประเทศ ไอที ลักษณะที่พึงประสงค์ : Employability, Learnability การพัฒนากำลังคนในวัยทำงาน มหาวิทยาลัยใช้เวลาและทรัพยากรในการจัดการศึกษาสำหรับผู้จบมัธยมปลาย ปีละ 0.2 ล้านคนจากผู้จบ 0.6 ล้านคน ยังไม่มีบทบาทจริงจังในการพัฒนาคนในวัยทำงาน 31-32 ล้านคน ซึ่งอยู่ในภาคธุรกิจ การผลิต ประมาณ 3-5 ล้านคน

  7. การจัดการศึกษา ในกระบวนทัศน์ปรกติ จบม 6 ออกไปทำงาน 0. 2 ล้านคนต่อปี จบมหาวิทยาลัย ออกไปทำงาน จบม 3 ออกไปทำงาน 0.2 ล้านคนต่อปี การศึกษาในระบบ 0.85 ล้านคนต่อปี เข้าเรียนมัธยมปลาย และปวช. 0.6 ล้านคนต่อปี เข้าเรียนมหาวิทยาลัยปิด 0. 2 ล้านคนต่อปี เรียนมหาวิทยาลัยเปิด เรียนปวส. จบปวส.ออกไปทำงาน กศน กศน กศน กศน อาชีวศึกษา มัธยมปลาย อาชีวศึกษา วิทยาลัยชุมชน ปฐมวัยและ อนุบาล ประถมต้น ประถมปลาย มัธยมต้น มหาวิทยาลัย 11 มีนาคม 2550

  8. การจัดการศึกษาเพื่อการทำงานและชีวิตการจัดการศึกษาเพื่อการทำงานและชีวิต ผู้รับบริการวิทยาลัยชุมชน Flow และ Stock ของคน ม 6 แรงงานต่างด้าว X ล้าน ม 3 เป้าหมายของ อุดมศึกษาปัจจุบัน จบม 3ออกทำงาน 0.2 ล้านคนต่อปี มนุษย์เงินเดือน คนในภาคราชการ ธุรกิจ อุตสาหกรรม ประมาณ 3 - 5 ล้านคนที่มีวุฒิ 0.85 ล้านคนต่อปี ผู้ประกอบอาชีพอิสระ 0.6 ล้าน 0.2 ล้าน ประชาชน เกษตรกร แรงงานที่ไม่มีวุฒิ จบม 6ออกทำงาน 0.2 ล้านคน จบปวส.ออกทำงาน คนในวัยทำงาน 31 – 32 ล้านคน การศึกษาในระบบปรกติ ปฐมวัยและ อนุบาล การศึกษา พื้นฐาน 12 ปี อาชีพ 11 มีนาคม 2550 อุดมศึกษา

  9. โจทย์และความท้าทายของการจัดการอุดมศึกษาต่อเนื่อง ตลอดชีวิต การจัดการศึกษาเพื่ออาชีพและเพื่อชีวิต สำหรับกลุ่มต่างๆ :มนุษย์เงินเดือน คนในภาคการผลิตที่มีวุฒิ 3-5 ล้านคน :ผู้ประกอบการอิสระX ล้านคน :แรงงานผิดกฎหมายY ล้านคน ซึ่งจำเป็นต่อการผลิตทั้งภาคบริการ อุตสาหกรรม เกษตร ของประเทศ :ประชาชน เกษตรกร แรงงานที่ไม่มีวุฒิ ทำไมจึงต้องจัดการศึกษาเพื่ออาชีพและเพื่อชีวิต :การรักษาและการเพิ่มคุณภาพชีวิต โดยกลไกเศรษฐกิจ เพิ่มผลิตภาพทางเศรษฐกิจ (Economic productivity) การเพิ่มการปันผลทางเศรษฐกิจ(Economic dividend)เนื่องจากโครงสร้างประชากรเปลี่ยนไป อัตราการพึ่งพิงของคนที่ไม่ทำงาน(เด็ก คนวัยชรา) ต่อคนทำงานจะเพิ่มขึ้น : เพิ่มมูลค่า สร้างความหมาย และสร้างคุณค่าให้มนุษย์ทุกระดับ(แม่บ้าน กรรมกร คนหลังวัยทำงาน ฯ ) 11 มีนาคม 2550

  10. โจทย์และความท้าทายของการจัดอุดมศึกษาสำหรับคนในวัยทำงาน สำหรับท้องถิ่น ทุกสถาบันมีภารกิจร่วมคือสอน วิจัย (สร้างและประยุกต์ความรู้ใหม่) และบริการวิชาการ มีความหลากหลายทางวิชาการวิชาชีพ ภารกิจทั้งสามของมหาวิทยาลัยของประเทศไทย อาจแยกเป็นสามลักษณะหลัก : Academic oriented, Hands on / Professionally – oriented, Community/Region/Society oriented – dedicated มหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ มหาวิทยาลั comprehensive อาจมีทั้งสามลักษณะ ในขณะที่มหาวิทยาลัยรัฐใหม่จัดตั้งขึ้นเพื่อเน้นบางภารกิจ โดยเฉพาะ ลักษณะHands on / Professionally – oriented และลักษณะCommunity/ Region/ Society oriented – dedicated 11 มีนาคม 2550

  11. โจทย์และความท้าทายของการจัดการศึกษาสำหรับคนในวัยทำงาน สำหรับท้องถิ่น การจัดการศึกษาของคนในวัยทำงาน สำหรับท้องถิ่น การศึกษาโดยชุมชน ของชุมชน เพื่อชุมชน การสร้างความเข้าใจ การลดการพึ่งพิงทางความคิดจากส่วนกลาง จากระบบปรกติ การระดมทรัพยากรในท้องถิ่น การตั้งโจทย์ที่มีความหมาย ใครได้อะไร(ใคร ผลลัพธ์ ผลผลิต ผลกระทบ) ทำไปทำไม เรื่องอะไร สำหรับใคร อย่างไร เมื่อใด ทรัพยากรจากที่ใดอย่าเริ่มทำงานโดยไม่ถามว่าใครได้อะไร ความหลากหลายของกลุ่มเป้าหมาย(อาชีพ อายุ) ภูมิสังคม อย่าตามกัน อย่าตามคนอื่น อย่าตามความสำเร็จในอดีตเสมอไป โลก เทคโนโลยี มีพลวัตรสูง(เข็มวินาฑีของนาฬิกา สังคมมีความซับซ้อน มีความเฉื่อย แต่ก็มีความเคลื่อนไหว (เข็มวัน เข็มเดือน) 11 มีนาคม 2550

  12. สภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน คุณภาพของการศึกษา การประเมินของสมศ.รอบแรก – เพื่อทราบสถานภาพ การประเมินรอบสอง- เพื่อการรับรอง (ยอดเยี่ยม ยอดแย่ – ICU, Coma) ต้องสร้างความเชื่อมโยงระหว่างการประเมินคุณภาพภายใน(Internal QA)ทุกปีโดยใช้ดัชนีของสกอ.(พัฒนาจากร่วมระหว่างสกอ. สมศ. กพร.)การประเมินของสมศ.ทุกห้าปี(External QA) หลักสูตรที่ไม่มีคุณภาพ จะใช้ผลการประเมิน เพื่อการปรับปรุง หรือยุติหลักสูตรได้อย่างไร ควรใช้ผลการประเมินของสมศ. กพร. การประกันคุณภาพภายในประกอบเกณฑ์ :การจัดสรรทรัพยากร :กองทุนกู้ยืมการศึกษา หรือไม่

  13. สภาพอุดมศึกษาปัจจุบันสภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน การบริหารและกำกับนโยบาย(Governance) และการบริหารจัดการ (Management) บทบาทของสภามหาวิทยาลัยในการกำหนดทิศทาง กำกับ ตรวจสอบ การบริหารจัดการ(แผน การเงิน คุณภาพการศึกษา บุคลากร ความโปร่งใส การติดตามประเมินผล ฯ) ความไม่พร้อมของมหาวิทยาลัยใหม่ทั้งรัฐและเอกชน จำนวนหนึ่งทั้งการกำกับนโยบายและการบริหารจัดการ วัฒนธรรมองค์กรอุดมศึกษาไทยในระบบมหาวิทยาลัย มีจุดอ่อน ไม่เอื้อต่อการพัฒนาผู้นำทางความคิด ผู้นำการเปลี่ยนแปลง :ลอกรูปแบบการทำงาน กระบวนทัศน์ One size fits all (จัดแบบเหมาเข่ง) :แข็งตัวทางความคิด ทางการจัดหลักสูตร ทางการบริหารจัดการ

  14. สภาพอุดมศึกษาปัจจุบันสภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน การบริหารและกำกับนโยบาย(Governance) และการบริหารจัดการ (Management) วัฒนธรรมองค์กรอุดมศึกษาไทยในระบบมหาวิทยาลัย มีจุดอ่อน ไม่เอื้อ ต่อการพัฒนาผู้นำทางความคิด ผู้นำการเปลี่ยนแปลง :สภาวะ copy cat, ไม่ถาม why และ why not, ขาดการมองเชิงวิพากษ์ (critical analysis) :กลัวความเปลี่ยนแปลง, กลัวความล้มเหลว (Failure is a crime) :การพึ่งพิงปัญญาภายนอกพึ่งพิงทรัพยากรภายนอก :สภาพ fat cat, ติดความสบายความเคยชิน, ไม่มีวิกฤติหรือไม่เห็นวิกฤติ :สภาพความเป็นองค์กรการเมือง :สังคมไม่มีความปราณี ขาดความเป็นกัลยามิตร ขาดความเอื้ออาทร 11 มีนาคม 2550

  15. สภาพอุดมศึกษาปัจจุบันสภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน การบริหารและกำกับนโยบาย(Governance) และการบริหารจัดการ (Management) นอกจากการจัดการศึกษา อุดมศึกษาจะเป็นผู้นำ(Leader)สร้างการเปลี่ยน แปลงของสังคม และสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลง(Change agent)สังคมได้หรือไม่ A genius is born, not made.Perhaps, a leader is born, not made. ผู้นำ สภาวะผู้นำเป็นสิ่งติดตัวมาแต่กำเนิด พ่อแม่ให้มา หรือ ผู้นำ สภาวะผู้นำเป็นสิ่งที่พัฒนาได้ ? ผู้นำมีหลายประเภท ผู้นำทางจิตวิญญาณ ผู้นำทางความคิด (Spiritual leaders, opinion leaders) : ศาสดา (ตรัสรู้เอง – พระพุทธเจ้าในประวัติศาสตร์/ Historical Buddha สิทธัตถะ, Natural Buddha พระพุทธเจ้าที่อุบัติตลอดเวลา) : ศาสดา (ผู้นำสารพระเจ้า- messenger, prophet) : บุคคลจริง – ท่านพุทธทาส, ท่านประยุต ประยุตโต, หมอประเวศ, ปราชญ์ชาวบ้าน(ผู้ใหญ่วิบูลย์ ลุงประยงค์ ฯ), มูฮัมมัด ยูนุส 11 มีนาคม 2550

  16. สภาพอุดมศึกษาปัจจุบันสภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน การบริหารและกำกับนโยบาย(Governance) และการบริหารจัดการ (Management)ผู้นำมีหลายประเภท ผู้นำทางความคิดที่เป็นผู้นำทางการเปลี่ยนแปลงการเมือง อเล็กซานเดอร์มหาราช พระบามสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คานธี เมาเซตุง โฮจิมิน ลีกวนยู บุคคลเหล่านี้ไม่ใช่เพียงนักการเมืองชั้นนำ/ผู้นำทางการเมืองเท่านั้น แต่เป็น ผู้นำทางความคิด เป็นผู้นำทางการเปลี่ยนแปลงด้วย ผู้นำสภาวะผู้นำ ทุกคนมีถึงระดับหนึ่ง เป็นสิ่งที่ติดตัวมาแต่กำเนิด(พ่อแม ให้มา) แต่ต้องการการกล่อมเลี้ยงการขัดเกลา( mentor/nurture)มีเหตุการณ์ เหมาะสม(เหตุการณ์สร้างวีรบุรุษ) จึงจะปรากฏหรือแสดงออกเหมือนกับอัจฉริยะ ที่ขึ้นกับสิ่งที่ได้จากพ่อแม่ การเลี้ยงดูและสภาพแวดล้อม(Nature and nurture) ในอุดมศึกษา สถานศึกษา ชุมชน เราคงต้องการผู้นำทางความคิด ในสภาวะทางตันของประเทศ สังคมมีความรู้สึกว่าการศึกษาและ อุดมศึกษาตีบตัน สถาบันอุดมศึกษาคงต้องแสวงหาและพัฒนาผู้นำ 11 มีนาคม 2550

  17. สภาพอุดมศึกษาปัจจุบันสภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน การบริหารและกำกับนโยบาย(Governance) และการบริหารจัดการ(Management) ผู้นำและผู้บริหาร (Leader versusManager / Executive) • การสร้าง quantum jump v incremental jump • การสร้าง S- curve เส้นใหม่ v การบริหาร S- curve เส้นเดิม • ผู้นำสร้าง quantum jump, สร้าง S-curve เส้นใหม่, สร้างtheoretical limitใหม่, นำองค์กรหรือสังคมไปสู่theoretical limitใหม่(ทั้งรูปธรรมและนามธรรม) • ผู้บริหารสร้าง incremental jump, จัดการตาม S- curve เส้นเดิม, นำองค์กรหรือสังคมไปสู่theoretical limit เดิม • เวลาปรกติ คนเห็นเฉพาะและต้องการผู้บริหาร เวลาวิกฤติหรือมีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ คนแสวงหาผู้นำ 11 มีนาคม 2550

  18. ผู้นำ ผู้นำที่เก่งจะสร้าง quantum jumpได้มาก สร้าง S-curve เส้นใหม่ได้เร็ว ได้ตลอดเวลา พาคนไปสู่ S-curve ใหม่ได้รวดเร็ว การเปลี่ยนแปลง ผู้บริหาร ผู้จัดการ ที่เก่ง พาคนไปตาม S-curve ได้รวดเร็ว เก่ง ปานกลาง ไม่เก่ง เวลา ผู้บริหาร ผู้จัดการ แย่ 11 มีนาคม 2550

  19. สภาพอุดมศึกษาปัจจุบันสภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน การบริหารและกำกับนโยบาย(Governance) และการบริหารจัดการ(Management) สถาบันอุดมศึกษาคงต้องการทั้งผู้นำ(ทางความคิด)และผู้บริหาร ต้องการ ผู้นำที่บริหารเป็น และต้องการผู้บริหารที่นำเป็น ต้องการspectrum of leadership and managerial capability สถาบันอุดมศึกษาคงพัฒนาผู้บริหารได้ โดยอาศัยสภาวะผู้นำที่พ่อแม่ให้มา สถาบันอุดมศึกษา จะพัฒนาผู้นำ(ทางความคิด)ให้เกิดขึ้นได้หรือไม่ : วัฒนธรรมองค์กร สภาพแวดล้อมสร้างคน คนสร้างสภาพแวดล้อม สังคมดีได้เท่ากับผู้นำ ผู้นำดีได้เท่ากับสังคม : เงื่อนไขและเหตุการณ์ ถ้ามหาวิทยาลัยสอนคนที่ไม่มีประสบการณ์ ขาดเป้าหมายชีวิต มีวุฒิภาวะ ต่ำจะพัฒนาผู้นำได้หรือไม่ ถ้ามหาวิทยาลัยทำงานกับคนจำนวนมาก คนที่มีประสบการณ์ คนที่มีวุฒิ ภาวะสูง มีความชัดเจนในชีวิต มหาวิทยาลัยควรสร้างผู้นำทางการเปลี่ยนแปลง ชุมชนและสังคมได้มาก 11 มีนาคม 2550

  20. สภาพอุดมศึกษาปัจจุบันสภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน นิสิตนักศึกษา- การใช้ชีวิตของนักศึกษาและคุณภาพบัณทิต ความเป็นห่วงของสังคม เสียงจากผู้ใช้ (วินัย ความอดทน คุณธรรม จริยธรรม การทำงานเป็นทีม ) ข้อมูลจากโครงการ Child Watchสำรวจ(ก.พ.-มีค. 2549) จากกลุ่มตัวอย่างในจังหวัดที่มีสถาบันอุดมศึกษาหรือวิทยาเขตจังหวัดละ 400 ตัวอย่าง รวม 25,000 คน มิติสื่อและการเรียนรู้ 91% มีมือถือ 23% ส่ง SMS ทุกวัน 16%โหลดภาพ/เพลงทุกวัน34% เล่นเกมส์คอมพิวเตอร์/เกมส์ออนไลน์เป็นประจำ พูดโทรศัพท์ 74 นาทีต่อวัน ดูทีวี 154 นาทีต่อวัน 56 % เข้าเน็ตทุกวัน เฉลี่ยวันละ 105 นาที อ่านหนังสือ 81 นาทีต่อวัน ทำการบ้าน/รายงาน 86 นาทีต่อวัน 39% ดูวีซีดีโป๊ 27% ดูเว้ปโป๊30% ดูการ์ตูนโป๊ 35 % โดดเรียนอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์

  21. สภาพอุดมศึกษาปัจจุบันสภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน นิสิตนักศึกษา- การใช้ชีวิตของนักศึกษาและคุณภาพบัณทิต มิติสื่อการใช้ชีวิต 23 % ทำงานหารายได้พิเศษ 47 % อยู่บ้านเพื่อน/หอเพื่อนเป็นประจำเฉลี่ยวันละนาที 49 % กินเหล้า 23 % สูบบุหรี่ 31 % เที่ยวกลางคืนวันเสาร์-อาทิตย์ 17 % เล่นพนันบอลล์ 27 % เล่นหวยบนดิน 30 % รับว่ามีเพศสัมพันธ์แล้ว 20% อยากทำศัลยกรรมปรับปรุงภาพลักษณ์ มิติครอบครัว /ศาสนา มิติปัญหา / ภาวะเสี่ยง

  22. สภาพอุดมศึกษาปัจจุบันสภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน นิสิตนักศึกษา- การใช้ชีวิตของนักศึกษาและคุณภาพบัณทิต การพัฒนาคุณธรรมนักศึกษา – คุณธรรมนำความรู้ ข้อเสนอเพื่อการดำเนินการ สร้างความเข้าใจ กำหนดเป็นภาระหน้าที่ ให้อาจารย์ทุกคนถิอว่าการดูแลนิสิตนักศึกษาเป็นหน้าที่ที่ต้องทำควบคู่กับการเรียนการสอน สร้างแผนพัฒนานิสิตนักศึกษาเชิงบูรณาการและหลากมิติ – วิชาการ(ความรู้ สมรรถนะ ทักษะสมัยใหม่) การขัดเกลาทางสังคม (Socialization) การพัฒนาสุขภาพกายใจและจิตวิญญาน การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม การสร้างค่านิยมขององค์กร(เช่น ความซื่อสัตย์ วิถีชีวิตพอเพียง Students Code of Conduct ) ให้ความสำคัญและมีตัวชี้วัด สภาพนิสิตนักศึกษา (Gross Student Happiness-GSH, Gross Student Integrity - GSI) สภาพแวดล้อมนิสิตนักศึกษาทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย จัดทำรายงานสภาพนิสิตนักศึกษา (State of the Students Report)

  23. สภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา กองทุนที่ขึ้นกับรายได้ในอนาคต - Income Contingent Loan ตามหลักการควรเป็นการระดมทุนเพื่ออุดมศึกษา โดยใช้รายได้ในอนาคตของผู้เรียนเป็นหลักประกัน (กยศ.มีผู้ปกครองหรือผู้อื่น เป็นผู้ค้ำประกัน) สิ่งที่ใช้ในปี 2550ไม่ใช่ ICL ยังไม่ชัดเจนเรื่อง Unit cost ยังไม่ชัดเจนเรื่อง สัดส่วนการรับภาระระหว่างรัฐและผู้เรียน ผลข้างเคียง : ความเป็นไปได้ทางการคลังระยะยาว รูปแบบปัจจุบันต้องใช้เงินปีละ 3 หมื่นล้าน มาจากไหน อย่างไร ผลกระทบต่ออาชีวศึกษา: นักเรียนทิ้งอาชีวศึกษาซึ่งผลิตคนเข้า real sector มาเรียนอุดมศึกษาเพื่อเอาปริญญา ผลกระทบต่อการกำหนดทิศทางการผลิตกำลังคน: เลือกเรียนสาขาอะไรก็ได้ เป็นการส่งสัญญานผิด ทำให้อุดมศึกษาตอบสนองความต้องการ/ตลาดส่วนบุคคล(Personal demand / market) มากกว่าความต้องการ/ตลาดสังคมหรือสาธารณะ(Social-Public demand / market)

  24. สภาพอุดมศึกษาปัจจุบันสภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา กองทุนที่ขึ้นกับรายได้ในอนาคต Income Contingent Loan การมีงานทำและการใช้หนี้ ถ้าเรียนตามใจตามความต้องการบุคคล หลายกรณีจะเป็นการยืดการตกงานไปอนาคต(Delayed unemployment) และการจ้างงานต่ำกว่าวุฒิ(Underemployment) หนี้บุคคลที่ใช้ไม่ได้ จะเปลี่ยนเป็นหนี้สาธารณะ จึงไม่ควรเรียนได้ตามใจ กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา กยศ. เป็นการประกันโอกาสสำหรับนักศึกษาที่มีฐานะยากจน ยังต้องปรับปรุงเรื่องการคัดเลือก ต้องมีกลไกจำแนกฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม(Means test)ที่ดี ตั้งแต่มีกยศ.มาสิบปี มีผู้ค้างชำระหนี้ประมาณ 30% ซึ่งอาจมาจากหลายปัจจัยเช่น การขาดความรับผิดชอบต่อสังคม การเรียนตามใจทำให้เกิด Delayed unemployment และ Underemployment

  25. สภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา กยศ. เกิดการหาประโยชน์ของสถานศึกษาบางแห่ง มุ่งเปิดหลักสูตรที่ทำให้มีรายได้ ขาดความรับผิดชอบต่อนักศึกษาและสังคม ว่าจะนำไปสู่ Delayed unemployment และ Underemployment หรือไม่ ใช้เงินกยศ.มาเพื่อการลงทุน แทนการลงทุนก่อน มีการชักจูงนักเรียนตั้งแต่มัธยมมาเรียนพร้อมการให้กู้เงิน-การตกเขียว กยศ.มีทั้งส่วนค่าเล่าเรียนและค่าครองชีพ แต่สถาบันเพิ่มจำนวนนักศึกษาเพื่อให้ได้ค่าเล่าเรียนเข้าสถาบันให้มาก โดยจ่ายค่าครองชีพน้อยกว่าเกณฑ์ ค่าเล่าเรียนในสถาบันอุดมศึกษา ค่าเล่าเรียนในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐเป็นประเด็นที่ไม่พูดด้วยเหตุผล ความไม่เป็นธรรมทางสังคมระหว่างกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา การอุดหนุนการศึกษาพื้นฐานควรจำเป็นกว่า อาชีวศึกษาอุดมศึกษา

  26. การเงินเพื่อการอุดมศึกษาในปัจจุบันการเงินเพื่อการอุดมศึกษาในปัจจุบัน งบประมาณ • Supply side financing(7 หมื่นล้านบาทต่อปี) • การจัดการศึกษา (งปม. ส่วนใหญ่ 90%) • การบริหารจัดการ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การวิจัยและพัฒนา การพัฒนาคุณภาพการศึกษา การบริการวิชาการ • - การส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม • Demand side financing • กองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา • (มีแล้ว 300,000 ล้านบาท) งบประมาณเกือบทั้งหมดใช้ในการจัดการศึกษา ไม่มีงบประมาณสำหรับงานพัฒนา งานคุณภาพการวิจัย และภาระกิจอื่นๆ นักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนได้รับการสนับสนุนเฉพาะเงินกู้ยืม สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สถาบันอุดมศึกษาเอกชน ค่าเล่าเรียน ผู้เรียน (พ่อ-แม่ ผู้ปกครอง) ค่าใช้จ่ายส่วนตัว กุมภาพันธ์ 2550 เงินกู้ยืม

  27. การเงินเพื่อการอุดมศึกษาในอนาคตการเงินเพื่อการอุดมศึกษาในอนาคต แหล่งเงินอื่นเช่น securitization, พันธบัตร งบประมาณแผ่นดิน Supply side financing (รักษาไว้ที่ 5 หมื่นล้านบาทต่อปี ให้รัฐบาลยอมรับ หลักการ Expenditure neutrality) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การวิจัยและพัฒนา การพัฒนา คุณภาพการศึกษา การบริการวิชาการ การส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม Demand side financing - ICL กองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา การบริหารจัดการ การจัดการศึกษา + โครงสร้างพื้นฐาน (ครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง) ในเบื้องต้น โครงสร้างพื้นฐานอาจอยู่ใน supply side financing คาดว่า 800,000 ถึง 2,000,000 ล้านบาท หมุนเวียนได้เพียงพอ สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สถาบันอุดมศึกษาเอกชน ค่าเล่าเรียน เงินกู้ยืม ผู้เรียน (พ่อ-แม่ ผู้ปกครอง) ค่าใช้จ่ายส่วนตัว กุมภาพันธ์ 2550

  28. ICL (คล้ายกับกองทุนค่าครองชีพ) (เด็กพิการ เด็กมีความสามารถพิเศษ ฯ) ระบบกองทุนอุดมศึกษาเพื่อมหาวิทยาลัยรัฐและเอกชน

  29. สภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา การระดมทุนเพื่อการศึกษา ต้องมีการปฎิรูปการเงินอุดมศึกษาเพื่อการระดมทุน การสร้างความ สามารถของอุดมศึกษา ต้องมีหลายกองทุนที่มีวัตถุประสงค์ต่างกัน ระดมทุนจากแหล่งอื่นนอกจากงบประมาณแผ่นดิน จะเอาทรัพยากรมาจากไหน(งบประมาณสกอ. 6-7 หมื่นล้าน, กยศ. 3 หมื่นล้าน) :งบประมาณแผ่นดิน1.3 ล้านล้านบาท เท่ากับ 1 ใน 6 หรือ 7 ของ GDPอุดมศึกษาจะพัฒนาได้โดยงบประมาณแผ่นดินซึ่งเป็นส่วนน้อยของทรัพยากร ? :จะระดมทรัพยากรอีก 6-7 ส่วนจาก GDPอย่างไร (ผู้เรียน ธุรกิจอุตสาหกรรม ฯ) งปม.แผ่นดิน 1.3 ล้านล้านบาท ลงไปที่อปท. 4 แสนล้าน(อปท.เก็บภาษีได้อีก) จะให้อปท.มีวาระและ งปม.การศึกษาได้อย่างไร ส่งเสริมให้อปท.จัดการอุดมศึกษาได้อย่างไร ใช้การจัดซื้อภาครัฐ (Government Procurement)เพื่อระดมทรัพยากรอุดมศึกษา

  30. สภาพอุดมศึกษาปัจจุบันสภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน การวิจัยในระบบอุดมศึกษา ความหลากหลายของการวิจัยในระหว่างสถาบัน (i) Academic oriented, (ii) Professionally – oriented (iii) Community/region oriented –dedicated การวิจัยต้องตอบคำถามเรื่องการสร้างความรู้ ผลประโยชน์ทางสังคม ผลผลิตทางเศรษฐกิจ การขาดทิศทาง องค์ความรู้ Academically oriented programs การเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม Community / Society / Region oriented programs Professionally oriented programs ประโยชน์ทางสังคม / สาธารณะ ผลผลิตทางเศรษฐกิจ

  31. International and National Publications of Graduate Theses (%) มหาวิทยาลัยเดิมจะเน้นการตีพิมพ์ด้านการสร้างองค์ความรู้ ราชมงคลและราชภัฏสามารถเพิ่มการตีพิมพ์ผลงานสร้างความรู้ใหม่ด้านสิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม ผลผลิตทางเศรษฐกิจ และประโยชน์สังคมได้ กติกาใหม่เรื่องผลงานวิชาการที่กกอ.ประกาศ เปิดโอกาสให้ใช้ผลงานวิชาการที่หลากหลายได้ ขึ้นกับ สภามหาวิทยาลัยและกรรมการอ่านผลงานวิชาการ

  32. สภาพอุดมศึกษาปัจจุบันสภาพอุดมศึกษาปัจจุบัน การพัฒนาอาจารย์และบุคคลากร ความหลากหลายของสถาบัน(ภาระกิจ ผลผลิต): (i) Academic oriented, (ii) Professionally – oriented / Hands on, (iii) Community/ Region oriented - dedicated มหาวิทยาลัยมีความหลากหลายในภาระกิจและภาระงานในระบบ จะมีการพัฒนาโดยรักษาเอกลักษณ์และจุดแข็งเฉพาะมหาวิทยาลัยแต่ละกลุ่มได้อย่างไร โดยไม่มีการพัฒนาเพียงรูปแบบเดียว (One size fits all – ทำแบบเหมาเข่ง) การพัฒนาอาจารย์ (และบุคลากร) ควรมีทั้งการพัฒนา (1) ทางวิชาการ (2) ความเป็นครู (3) ทางวิชาชีพ (4) การวิจัย (5) การบริหารจัดการ ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มใด ส่วนใหญ่จะพัฒนาอาจารย์ และทำเฉพาะเรื่องวิชาการก่อนการทำงาน(pre service) ขาดการพัฒนาบุคคลากรสายสนับสนุน

  33. การพัฒนาอาจารย์และบุคคลากรการพัฒนาอาจารย์และบุคคลากร ความหลากหลายของสถาบัน(i) Academic oriented, (ii) Professionally – oriented / Hands on, (iii) Community/Region oriented, (iv) Community dedicated) มีความหลากหลายในภาระกิจและภาระงานในระบบ การพัฒนาอาจารย์ (และบุคลากร) ควรมีทั้งการพัฒนา (1) ทางวิชาการ (2) ความเป็นครู (3) ทางวิชาชีพ (4) การวิจัย (5) การบริหารจัดการ ส่วนใหญ่พัฒนาอาจารย์ และทำเฉพาะเรื่องวิชาการก่อนทำงาน(pre service) ทุนทบวงและกระทรวงวิทย์2535-2549 มีอาจารย์ (ส่วนใหญ่กลุ่มมหาวิทยาลัยรัฐเดิม ไม่รวมสถาบันเอกชน) ได้รับทุนและกลับมาทำงานแล้วประมาณ 2,500 คน ในปี 2549 มีอาจารย์กำลังศึกษาอยู่ 1,700 คน

  34. การพัฒนาอาจารย์และบุคคลากร ทุน CRNและเครือข่ายยุทธศาสตร์2545 –2548 ประมาณ 2,400 คน (รวมราชภัฏ มทร.ธัญบุรี แต่ไม่มีมทร.อื่น และไม่มีสถาบันเอกชน) ปี 2549 อีก 500 คนปี 2550 อีกประมาณ 500 คน ภายใน 2560 ควรมีอาจารย์มีรับทุนและจบ(ส่วนใหญ่ระดับปริญญาเอก)อายุประมาณ 35-55 ประมาณ 7,500 คน มหาวิทยาลัยต้องวางแผนการพัฒนาอาจารย์เหล่านี้ต่อไป (ทางวิชาการ ความเป็นครู ทางวิชาชีพ การวิจัย การบริหารจัดการ) ทุนพัฒนานักวิจัย รุ่นใหม่ (สกอ. สกว.) นักวิจัยรุ่นกลาง/เมธีวิจัย(สกอ./สกว.) นักวิจัยอาวุโส(สกว.) มีนักวิจัยราชภัฎ ราชมงคล สถาบันอุดมศึกษาเอกชนได้รับทุน

  35. การพัฒนาอาจารย์และบุคคลากร โครงการศูนย์แห่งความเป็นเลิศเฟสหนึ่ง(2542-2548) เฟสสอง(2549-2552) 7 กลุ่ม และที่จะเสนอครม.ใหม่อีกสองกลุ่ม มีอาจารย์และนักเรียนที่มีศักยภาพที่จะเป็นอาจารย์และนักวิจัย มีผู้รับทุนจำนวนหนึ่งไปเป็นอาจารย์ราชภัฎ ราชมงคล สถาบันเอกชน ใช้ทุนเครือข่ายยุทธศาสตร์และศูนย์แห่งความเป็นเลิศ สนับสนุนทุนสถาบันศึกษา(รัฐ เอกชน วิทยาลัยชุมชน)ระหว่าง 2550-2560 โดยยึดหลัก : มหาวิทยาลัยที่เข้มแข็งช่วยมหาวิทยาลัยใหม่ ทั้งการพัฒนาบุคลากรวิชาการ การสร้างความสามารถในการวิจัยและบริการ :สร้างเครือสถาบันภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม Academic oriented, (ii) Professionally – oriented / Hands on, (iii) Community/Region oriented, (iv) Community dedicated) :การรวมกลุ่มสถาบันเชิงพื้นที่ , theme

  36. การพัฒนาอาจารย์และบุคคลากร โครงการกาญนาภิเษกของสกอ.ตั้งแต่ตั้งแต่ต้นทศวรรษ 2540 มีผู้รับทุนจำนวนหนึ่งไปเป็นอาจารย์ราชภัฎ ราชมงคล สถาบันเอกชน จะมีการดูแลการพัฒนามหาวิทยาลัยใหม่เรื่องการพัฒนาอาจารย์และบุคคลากรเป็นกรณีเฉพาะ : ราชภัฏ ราชมงคล ปทุมวัน ม.นราธิวาสราชนครินทร์ ม.นครพนม มหาวิทยาลัยเอกชน ประมาณ 60-70 แห่ง :วิทยาลัยชุมชน 18 แห่ง

  37. Five Domains of Learning 1.ความรู้ความเข้าใจ 2.ทักษะความคิดและเชาว์ปัญญา 3. การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์และการสื่อสาร Brain Thrust ความสามารถบริหารจัดการช่วงกลาง (นบม. นบข.) ความสามารถ บริหารจัดการ เบื้องต้น การพัฒนา ความเป็นครู Mentoring (10 ปี) การเตรียม ความเป็นครู การพัฒนา นักวิจัยรุ่นกลาง การเพิ่มสมรรถนะ ทางวิชาชีพและ การจัดการระดับ กลาง / สูง (Shadowing, Sabbatical) การเริ่มขัดเกลา ทางสังคม การแนะแนวอาชีพ โปรแกรมการศึกษา และสถานศึกษา ครูอาวุโส นักวิจัยอาวุโส ผู้บริหารอาวุโส นักวิชาชีพอาวุโส การเพิ่มความเข้าใจ ในวิชาชีพ(Work Attachment) โควตา ระบบ Admission การขัดเกลาทางสังคม โดยประชาอาสา และบริการสังคม การเริ่มสร้าง ความเข้าใจ ในมิติวิชาชีพ ทุน การพัฒนา นักวิจัยรุ่นใหม่ ครู นักวิจัย ผู้บริหาร นักวิชาชีพ รุ่นกลาง O Net A Net ช่วงบ่มเพาะ - Early career development ( 5-10 ปี) 5/2/2550 ช่วงเรียนอุดมศึกษา ช่วงเก็บเกี่ยว (20 + ปี) มัธยมปลาย

  38. Five Domains of Learning 1.ความรู้ความเข้าใจ 2.ทักษะความคิดและเชาว์ปัญญา 3. การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์และการสื่อสาร Brain Thrust ความสามารถบริหารจัดการช่วงกลาง (นบม. นบข.) ความสามารถ บริหารจัดการ เบื้องต้น การพัฒนา ความเป็นครู การเตรียม ความเป็นครู การพัฒนา นักวิจัยรุ่นกลาง ครูอาวุโส นักวิจัยอาวุโส ผู้บริหาอาวุโส นักวิชาชีอาวุโส การเริ่มขัดเกลา ทางสังคม การแนะแนวอาชีพ โปรแกรมการศึกษา และสถานศึกษา การเพิ่มสมรรถนะ ทางวิชาชีพและ การจัดการระดับ กลาง / สูง (Shadowing, Sabbatical) การเพิ่มความเข้าใจ ในวิชาชีพ(Work Attachment) โควตา ระบบ Admission การเริ่มสร้าง ความเข้าใจ ในมิติวิชาชีพ การขัดเกลาทางสังคม โดยประชาอาสา และบรืการสังคม ทุน การพัฒนา นักวิจัยรุ่นใหม่ O Net A Net Mentoring (10 ปี) ช่วงบ่มเพาะ - Early career development ( 5-10 ปี) ช่วงเก็บเกี่ยว (20 + ปี) 5/2/2550 ช่วงเรียนอุดมศึกษา มัธยมปลาย

  39. Five Domains of Learning 1.ความรู้ความเข้าใจ 2.ทักษะความคิดและเชาว์ปัญญา 3. การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์และการสื่อสาร Brain Thrust ความสามารถบริหารจัดการช่วงกลาง (นบม. นบข.) ความสามารถ บริหารจัดการ เบื้องต้น Mentoring (10 ปี) การพัฒนา ความเป็นครู ครูอาวุโส นักวิจัยอาวุโส ผู้บริหารอาวุโส นักวิชาชีพอาวุโส การพัฒนา นักวิจัยรุ่นกลาง การเตรียม ความเป็นครู การเพิ่มสมรรถนะ ทางวิชาชีพและ การจัดการระดับ กลาง / สูง (Shadowing, Sabbatical) การเริ่มขัดเกลา ทางสังคม การแนะแนวอาชีพ โปรแกรมการศึกษา และสถานศึกษา การเพิ่มความเข้าใจ ในวิชาชีพ(Work Attachment) โควตา ระบบ Admission การขัดเกลาทางสังคม โดยประชาอาสา และบริการสังคม การเริ่มสร้าง ความเข้าใจ ในมิติวิชาชีพ ทุน การพัฒนา นักวิจัยรุ่นใหม่ ครู นักวิจัย ผู้บริหาร นักวิชาชีพ รุ่นกลาง O Net A Net ช่วงบ่มเพาะ - Early career development ( 5-10 ปี) 5/2/2550 ช่วงเรียนอุดมศึกษา ช่วงเก็บเกี่ยว (20 + ปี) มัธยมปลาย

  40. Five Domains of Learning ภาคเอกชน สมาคมวิชาการวิชาชีพภาคประชาสังคม 1.ความรู้ความเข้าใจ 2.ทักษะความคิดและเชาว์ปัญญา 3. การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์และการสื่อสาร ความสามารถบริหารจัดการช่วงกลาง (นบม. นบข.) ความสามารถ บริหารจัดการ เบื้องต้น การพัฒนา ความเป็นครู การเตรียม ความเป็นครู การพัฒนา นักวิจัยรุ่นกลาง การเริ่มขัดเกลา ทางสังคม การแนะแนวอาชีพ โปรแกรมการศึกษา และสถานศึกษา การเพิ่มสมรรถนะ ทางวิชาชีพและ การจัดการระดับ กลาง / สูง (Shadowing, Sabbatical) การเพิ่มความเข้าใจ ในวิชาชีพ(Work Attachment) Brain Thrust โควตา ระบบ Admission Mentoring (10 ปี) การเริ่มสร้าง ความเข้าใจ ในมิติวิชาชีพ การขัดเกลาทางสังคม โดยประชาอาสา และบริการสังคม ทุน การพัฒนา นักวิจัยรุ่นใหม่ O Net A Net การบ่มเพาะ - Early career development ( 5-10 ปี) การเก็บเกี่ยว (20 + ปี) 5/2/2550 การเรียนอุดมศึกษา มัธยมปลาย

  41. การพัฒนาอาจารย์และบุคคลากรการพัฒนาอาจารย์และบุคคลากร ทิศทางการดำเนินการของสกอ. 1.ใช้กลไกการทำแผนอุดมศึกษาระยะยาว (2550) ช่วยสถาบันอุดมศึกษาทั้งรัฐและเอกชน กำหนดเอกลักษณ์(positioning)ของสถาบัน วางแผนกำลังคน สร้างความสามารถเฉพาะ 2.ใช้เครือข่ายที่มีเช่น โครงการศูนย์แห่งความเป็นเลิศ เครือข่ายอุดมศึกษาเชิงพื้นที่เครือข่ายการวิจัยเศรษฐกิจฐานราก เครือข่ายยุทธศาสตร์ กลไกใหม่ เพื่อ 2.1 ช่วยพัฒนาอาจารย์และนักวิชาการ ความเป็นเลิศและความเด่นเฉพาะ บนหลักการ : มหาวิทยาลัยที่เข้มแข็ง ช่วยมหาวิทยาลัยใหม่ เป็นตัวคูณ (multiplier) : รวมกลุ่มมหาวิทยาลัยเพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกัน( นักเรียนทุน อุปกรณ์) การรวมกลุ่มทั้งมหาวิทยาลัยรัฐและเอกชน อาจมีกลุ่มพื้นที่ กลุ่มที่จุดเน้นต่างกัน (Academic oriented, Professionally – oriented / Hands on, Community/ Region oriented- dedicated) 2.2 สร้างความรู้ใหม่ ประโยชน์ทางสังคม ผลผลิตทางเศรษฐกิจ

  42. มหาวิทยาลัยรัฐเดิม เปอร์เซนต์ของอาจารย์อุดมศึกษาวุฒิปริญญาเอก(2004) มหาวิทยาลัยเอกชน ราชภัฏ รวม วิทยาลัยพยาบาล 13 % ราชมงคล ความหลากหลายของสถาบัน: (i) Academic oriented, (ii) Professionally – oriented / Hands on, (iii) Community/Region oriented, (iv) Community dedicated) : สัดส่วนคุณวุฒิ และตำหน่งวิชาการของอาจารย์แต่ละกลุ่มควรเป็นอย่างไร : เพิ่มทางเลือกใหม่เพื่อพัฒนาอาจารย์และนักวิจัย/นักวิชาการ ให้รักษาเอกลักษณ์และเน้นจุดแข็งของมหาวิทยาลัย Professionally – oriented / Hands on และ Community/ Region oriented :เพิ่มทางเลือกในการพัฒนามิติวิชาชีพของวิชาการ - sabbatical leave ในอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคประชาสังคม - shadowing : มหาวิทยาลัยที่เกิดจากการหลอมรวม วิทยาลัยชุมชน พัฒนาบุคคลากรอย่างไร

  43. การพัฒนาบุคลากรและการสร้างความสามารถทางวิชาการต้องเริ่มที่เอกลักษณ์และเป้าหมายของมหาวิทยาลัยการพัฒนาบุคลากรและการสร้างความสามารถทางวิชาการต้องเริ่มที่เอกลักษณ์และเป้าหมายของมหาวิทยาลัย อัตลักษณ์ / positioningของระบบอุดมศึกษาไทย ผลลัพธ์ ผลผลิต คน องค์ความรู้ใหม่ ประโยชน์ทางสังคม ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ /positioning ของสถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่ง แต่ละกลุ่ม การพัฒนาอาจารย์ นักวิชาการ บุคคลากร การสร้างความสามารถทางวิชาการ ทรัพยากร สถานภาพปัจจุบัน การยอมรับของผู้ใช้ ศักยภาพในการเป็นตัวคูณ การประเมินของสกอ., สมศ. Absorptive Capacity

  44. แผนอุดมศึกษาระยะยาวฉบับที่สองแผนอุดมศึกษาระยะยาวฉบับที่สอง แผนอุดมศึกษาระยะยาวฉบับที่หนึ่ง(2533 - 2547) ทำระหว่างปี 2530– 2532 ขั้นตอนประกอบด้วย 1. การวิจัยเชิงนโยบาย (นักวิจัยกว่าหนึ่งร้อยคน) ก. สภาพแวดล้อมอุดมศึกษา (Environmental Scanning) 11 เรื่อง ข. กำลังคนและตลาดแรงงาน 3 เรื่อง ค. ประสิทธิภาพอุดมศึกษา 7 เรื่อง ง. บทบาทของภาคเอกชน 2 เรื่อง 2. กำกับด้วย คณะกรรมการทบวงมหาวิทยาลัย (กกอ.) คณะกรรมการนโยบาย คณะกรรมการจัดทำแผนอุดมศึกษาระยะยาว 3. การประชุมเชิงปฏิบัติการณ์ 4. ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ

  45. การวิจัยเชิงนโยบายประกอบการวางแผนอุดมศึกษาระยะยาวฉบับที่หนึ่งการวิจัยเชิงนโยบายประกอบการวางแผนอุดมศึกษาระยะยาวฉบับที่หนึ่ง • การศึกษาสภาพแวดล้อมอุดมศึกษา (Environmental Scanning) • 1.1 แนวโน้มประชากรและการศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย • 1.2 แผนพัฒนาภูมิภาคและเมืองหลัก • 1.3 อิทธิพลภายในและภายนอกกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม • 1.4 การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมและปัญหาทางจริยธรรม • 1.5 แนวโน้มการพัฒนาทางการเมืองของประเทศไทย • 1.6 ประเทศไทยในประชาคมโลกในอีก 15 ปีข้างหน้า • 1.7 อนาคตการพัฒนาอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมบริการ • 1.8 อนาคตการพัฒนาด้านการเกษตร • 1.9 อนาคตตลาดส่งออกไทย

  46. การวิจัยเชิงนโยบายประกอบการวางแผนอุดมศึกษาระยะยาวฉบับที่หนึ่งการวิจัยเชิงนโยบายประกอบการวางแผนอุดมศึกษาระยะยาวฉบับที่หนึ่ง • การศึกษาสภาพแวดล้อมอุดมศึกษา (Environmental Scanning) • 1.10 พัฒนาการทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในอนาคต • 1.11 การเปลี่ยนแปลงทางนิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อมในอนาคต • 2 กำลังคนและตลาดแรงงาน • 2.1 การคาดคะเนกำลังคนในระดับปริญญา • 2.2 การเตรียมอุดมศึกษาเพื่อการเปลี่ยนแปลงไปสู่สังคมที่พึงปรารถนา • 2.3 การศึกษาตลาดแรงงานของบัณฑิตในเชิงพฤติกรรม • 3 ประสิทธิภาพของระบบอุดมศึกษา • 3.1 สภาพปัจจุบันของการอุดมศึกษาในประเทศไทย • 3.2 พัฒนาการอุดมศึกษาในประเทศไทย

  47. การวิจัยเชิงนโยบายประกอบการวางแผนอุดมศึกษาระยะยาวฉบับที่หนึ่งการวิจัยเชิงนโยบายประกอบการวางแผนอุดมศึกษาระยะยาวฉบับที่หนึ่ง 3 ประสิทธิภาพของระบบอุดมศึกษา 3.3 ต้นทุนและแหล่งที่มาของเงินทุนเพื่อการอุดมศึกษา 3.4 ความต้องการและโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาในส่วน ภูมิภาค (การกำหนดจุดที่ตั้งของมหาวิทยาลัย University Mapping) 3.5 ความเป็นอิสระทางวิชาการและวิชาชีพอุดมศึกษา 3.6 การประสานสัมพันธ์ระหว่างการศึกษาระดับมัธยมศึกษาและ อาชีวศึกษา กับอุดมศึกษา 3.7 การศึกษาเกี่ยวกับบุคคลากรในระบบอุดมศึกษา 4 บทบาทของภาคเอกชน 4.1 ภาคเอกชนกับอุดมศึกษา 4.2 บทบาทสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

  48. International Perspectives ประกอบการวางแผนอุดมศึกษาระยะยาว ฉบับที่หนึ่ง Charles N. Myers : Higher Education and Secondary Education :Patterns, Prediction and Planning Isao Amagi : Outline of Higher Education Planning – Case in Japan G. Psacharopoulos : Financing of Education in Developing Countries : The Planning of Education- Where Do We Stand? : Links between Education and Labour Market : Assessing Training Priorities in Developing Countries : The Economics of Higher Education in Developing Countries S. Asher : Higher Education- Experience in Planning and Implementation Hyung – Sup Choi : Korean Approach to Higher Education

  49. แผนอุดมศึกษาระยะยาวฉบับที่หนึ่ง (2533-2547) หลักการร่วมพื้นฐาน โอกาสและความเสมอภาค (Equity) ประสิทธิภาพ(Efficiency) ความเป็นเลิศ (Excellence) ความเป็นนานาชาติ (Internationalization) การกำหนดเป้าหมายหลัก สัดส่วนการผลิตบัณฑิต การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา (กยศ., กรอ.) การสร้างเอกภาพในการกำหนดนโยบายและมาตรฐานอุดมศึกษา(สกอ.) บทบาทของภาคเอกชนและสถาบันอุดมศึกษาเอกชน การสร้างความเข้มแข็งของ มหาวิทยาลัยรัฐและเอกชน และการสร้างพร้อมเพื่อการพัฒนามหาวิทยาลัยรัฐ เป็นม.ในกำกับรัฐบาล การใช้และการประเมินผล การถอดเป็นแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะที่ 7 และ 8 ใช้จริงจังประมาณ ครึ่งแผน มีการประเมินผลกลางและปลายแผน สถานภาพปัจจุบัน แผนอุดมศึกษาระยะยาว (2533-2547) หมดอายุ สถานการณ์โลกที่ เปลี่ยนไป บริบทการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในประเทศที่เปลี่ยนไป วิวัฒนาการอุดมศึกษาไทย (40 แห่งเป็น 146 แห่ง 18 วิทยาลัยชุมชน)

  50. แผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาวฉบับที่สองแผนพัฒนาอุดมศึกษาระยะยาวฉบับที่สอง ทำงานบนฐานข้อมูล ความเห็นพ้อง การมีส่วนร่วม กันยายน เสนอครม. สังเคราะห์ประเด็น กำหนดทิศทาง ยุทธศาสตร์ เป้า กำหนดกรอบแผนยาว การสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ การรวบรวมและสังเคราะห์งานวิจัยที่มี การทำงานวิจัยเพิ่มเติม(ข้อมูลปริมาณ) การระดมสมองผ่านการประชุมโต๊ะกลม การรับฟังข้อมูลความเห็นผ่านเวทีสาธารณะ นักวิชาการจากมหาวิทยาลัย คณะทำงาน (Task force) คณะอนุกรรมการกำกับ (Steering) คณะอนุกรรมการนโยบายและแผน คณะกรรมการการอุดมศึกษา Retreat กุมภาพันธ์ ที่ประชุมอธิการบดีทั้ง 4 กลุ่ม เวทีสาธาธารณะ/โต๊ะกลมจัดโดยมหาวิทยาลัยสื่อมวลชน ร่วมประชุมอธิการบดี ทุก 2 เดือน

More Related