310 likes | 446 Views
การสำรวจ พฤติกรรมการสูบบุหรี่ และการดื่มสุราของประชากร พ.ศ. 25 50. สพบส. 50. โครงการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่ม สุราของประชากร ทาง สสช. ได้ทำการสำรวจมาแล้ว 11 ครั้ง ครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2519 โดยผนวกข้อถามกับ สอส. ปี 2542 กับ 2547 แยกเป็นโครงการเฉพาะ
E N D
การสำรวจ พฤติกรรมการสูบบุหรี่ และการดื่มสุราของประชากร พ.ศ. 2550 สพบส.50
โครงการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่ม สุราของประชากร ทาง สสช. ได้ทำการสำรวจมาแล้ว 11 ครั้ง • ครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2519 โดยผนวกข้อถามกับ สอส. • ปี 2542 กับ 2547 แยกเป็นโครงการเฉพาะ • ปี 2539 2544 และ 2547 เพิ่มข้อถามสุรา • ปี 2550 เป็นการสำรวจครั้งที่ 12
แผนงาน • ขอบข่ายและคุ้มรวมของการสำรวจ • บุคคลผู้อาศัยอยู่ในครัวเรือนส่วนบุคคลทั้งในเขตเทศบาล • และนอกเขตเทศบาลทั่วประเทศที่ตกเป็นครัวเรือน ตัวอย่าง • ครัวเรือนตัวอย่างประมาณ 79,560 ครัวเรือน คาบระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูล วันที่ 1 - 12 ของเดือน สิงหาคม กันยายน และตุลาคม พ.ศ. 2550
แผนงาน(ต่อ) • การนำเสนอข้อมูล • รายงานผลเบื้องต้น • ภายในเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2551 • รายงานผลฉบับสมบูรณ์ • ภายในเดือน เมษายน พ.ศ.2551
ข้อถามของแบบ สพบส. 50 • ตอนที่ 1 ลักษณะทั่วไปของสมาชิกในครัวเรือน • ตอนที่ 2 ลักษณะการทำงานระหว่าง 12 เดือน • ก่อนวันสัมภาษณ์ • ตอนที่ 3 การสูบบุหรี่ • ตอนที่ 4 การดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มมึนเมา
ข้อถามของแบบ สพบส. 50 (ต่อ) • ตอนที่ 5 ความปลอดภัยในการขับขี่ / โดยสารรถ • ตอนที่ 6 ความรู้และความคิดเห็นเกี่ยวกับการสูบ • บุหรี่ และการดื่มสุรา • ตอนที่ 7 ความต้องการในการได้รับการบำบัด • เกี่ยวกับสารเสพติด • ตอนที่ 8 ลักษณะของที่อยู่อาศัย
A1 ลำดับที่ A2 ชื่อ…นามสกุล A3 ความเกี่ยวพันกับหัวหน้าครัวเรือน A4 เพศ A5 อายุ A6 สถานภาพสมรส (ผู้ที่อายุ > 15 ปี) ตอนที่ 1 ลักษณะทั่วไปของสมาชิกในครัวเรือน 1.1 ข้อมูลลักษณะพื้นฐานของประชากร (A1 - A6)
A7 “ (ชื่อ) จบการศึกษาสูงสุดระดับใด ? ” ตอนที่ 1 ลักษณะทั่วไปของสมาชิกในครัวเรือน (ต่อ) 1.2 ระดับการศึกษาของประชากร ถามผู้ที่อายุ > 6 ปี
A8 อาชีพ A9 อุตสาหกรรม A10 สถานภาพการทำงาน A11 สาเหตุที่ไม่ทำงาน ตอนที่ 2 ลักษณะการทำงานระหว่าง 12 เดือน ก่อนวันสัมภาษณ์ ถามเฉพาะผู้ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป
รายได้แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ • รายได้จาการทำงาน/การลงทุน ที่เป็นตัวเงินหมายถึง รายได้สุทธิโดยเฉลี่ยต่อเดือน จากการทำธุรกิจหรือจากการทำการเกษตรของผู้ที่มีสถานภาพการทำงานเป็นนายจ้าง ผู้ประกอบธุรกิจส่วนตัว หรือผู้ที่รวมกลุ่มทำงาน หรือหมายถึง รายได้ที่เป็นเงินเดือนหรือค่าจ้างของผู้ที่มีสภาพการทำงานเป็นลูกจ้าง รวมทั้งผลประโยชน์ตอบแทนอื่น ๆ ที่เป็นตัวเงินโดยเฉลี่ยต่อเดือน
2. รายได้จากแหล่งอื่น ๆได้แก่- บำเหน็จ บำนาญ เบี้ยหวัด หรือ เงินสงเคราะห์ต่าง ๆ- เงินชดเชยจากการออกจากงาน หรือ เงินทดแทน- เงินที่ได้รับเป็นการช่วยเหลือจากบุคคลอื่นนอกครัวเรือน- เงินสงเคราะห์ผู้สูงอายุ หรือ เงินช่วยเหลืออื่น ๆ จากรัฐ และ องค์การต่าง ๆ- รายรับจากการให้เช่าที่ดิน การให้เช่าห้อง และสินทรัพย์อื่น ๆ- ค่าลิขสิทธิ์ และสิทธิบัตรต่าง ๆ- ดอกเบี้ยจากเงินฝาก การให้กู้ยืม และดอกเบี้ยจากพันธบัตร รัฐบาล
2. รายได้จากแหล่งอื่น ๆ (ต่อ)- เงินปันผล- เงินมรดก เงินของขวัญ- เงินที่ได้รับจากการประกัน- เงินที่ได้รับจากการถูกสลากกินแบ่งรัฐบาล สลากกิน รวบ และเล่นการพนัน- ค่านายหน้ารับจากการขายอสังหาริมทรัพย์ หรือ ของมี ค่าในกรณีที่ไม่ได้ประกอบเป็นธุรกิจ- รายได้อื่น ๆ นอกเหนือจากที่กล่าวข้างต้น
ตอนที่ 4 การดื่มสุราหรือเครื่องดื่มมึนเมา (B1-B31) ถามเฉพาะผู้ที่มีอายุ 11 ปีขึ้นไป
สุราหรือเครื่องดื่มมึนเมาหมายถึง เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ เช่น สุราแม่โขง แสงโสม หงษ์ทอง สุรา 28 ดีกรี สุรา 40 ดีกรี สุราขาว กระแช่ สาโท บรั่นดี ไวน์ วิสกี้ เบียร์ เป็นต้น
นิยามของการดื่มจนรู้สึกมึนเมาไว้ 4 ข้อ ดังนี้ • ไม่สามารถเดินหรือขับรถได้อย่างปกติ เช่น เดินเซ หรือเดินไม่ตรงทาง หรือ • 2) มีอาการแสดงทางร่างกาย เช่น รู้สึกไม่สบาย ป่วย หรือวิงเวียนศีรษะ มึน ปวดหัว หรือ • 3) การควบคุมตนเองลดลง หรือควบคุมตัวเองไม่ได้ หรือขาดสติ หรือ • 4) การคิด พิจารณา หรือตัดสินใจ ทำได้ช้าหรือทำไม่ได้ เหมือนอย่างเวลาปกติ
ตอนที่ 5 ความปลอดภัยในการขับขี่ / โดยสารรถ (สดมภ์ B32 – B35) ถามเฉพาะผู้ที่มีอายุ > 11 ปี
ตอนที่ 6 ความรู้และความคิดเห็นเกี่ยวกับ การสูบบุหรี่และการดื่มสุรา (สดมภ์ B36- B46)
ร้อยละของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่ดื่มสุราหรือเครื่องดื่มมึนเมา จำแนกตาม เพศ ปี 2539 - 2549 ที่มา : การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ.2539 และ พ.ศ. 2549 การสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากร พ.ศ. 2544 และ พ.ศ. 2547 * สำรวจพร้อมกับการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน