300 likes | 1.12k Views
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด. การกำหนดราคาสินค้าในตลาด. โครงสร้างตลาด (Market Structure) เศรษฐศาสตร์จำแนกตลาดออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ I. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ( P erfect competition) II. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Imperfect competition) - ตลาดผูกขาด (Pure monopoly)
E N D
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
การกำหนดราคาสินค้าในตลาดการกำหนดราคาสินค้าในตลาด • โครงสร้างตลาด (Market Structure) เศรษฐศาสตร์จำแนกตลาดออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ I. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์(Perfect competition) II. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์(Imperfect competition) - ตลาดผูกขาด(Pure monopoly) - ตลาดผู้ขายน้อยราย(Oligopoly) - ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด(Monopolistic competition)
การแบ่งโครงสร้างของตลาดพิจารณาจากเงื่อนไขต่างๆ ดังนี้ • จำนวนผู้ขายในตลาด • ความแตกต่างของสินค้า • ความยากง่ายในการเข้าสู่ตลาด
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ มีลักษณะดังนี้ • มีผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมากราย • ลักษณะของสินค้ามีลักษณะใกล้เคียงกันมาก (homogeneous product) • การเข้าออกจากตลาดทำได้โดยเสรี (free entry) เงื่อนไข 3 ข้อข้างต้น ทำให้ผู้ขายไม่สามารถกำหนดราคาสินค้าได้ • ผู้ซื้อและผู้ขายต่างมีความรู้เรื่องตลาดเป็นอย่างดี (perfect knowledge) • การเคลื่อนไหวของสินค้าและปัจจัยการผลิตเป็นไปอย่างเสรี (free mobility)
ลักษณะของเส้นอุปสงค์ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ผู้ผลิตหรือผู้ขายเป็นผู้ยอมรับราคา P P S P=D=AR=MR E Pe Pe D Q 0 Qe 0
ดุลยภาพผู้ผลิตในระยะสั้นดุลยภาพผู้ผลิตในระยะสั้น ดุลยภาพของผู้ผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ที่ต้องการกำไรสูงสุด จะมีเงื่อนไขดังนี้ คือ ผลิตที่ปริมาณการผลิต MR = MC Profit = TR-TC, Profit/Q = TR/Q-TC/Q =AR-AC
กรณีที่ผู้ผลิตได้รับกำไรปกติ (Normal Profit) • เงื่อนไขการผลิตที่ผู้ผลิตได้รับกำไรสูงสุด คือ MR = MC
กรณีที่ผู้ผลิตหรือผู้ขายได้รับกำไรเกินปกติกรณีที่ผู้ผลิตหรือผู้ขายได้รับกำไรเกินปกติ • กรณีที่ผู้ผลิตหรือผู้ขายขาดทุน
กรณีที่ผู้ผลิตขาดทุน • ที่จุด Cผู้ผลิตจะขาดทุน ต้นทุนคงที่บางส่วน • ที่จุด D ผู้ผลิตจะขาดทุน ต้นทุนคงที่ทั้งหมด
การผลิตในระยะยาวของผู้ผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ผู้ผลิตจะได้รับเฉพาะกำไรปกติ LMC=MR, LAC=AR
ตลาดผูกขาด (Monopoly) • โครงสร้างของตลาดผูกขาด - มีผู้ผลิตหรือผู้ขายรายเดียว - สินค้าของผู้ผลิตไม่สามารถหาสินค้าอื่นมาทดแทนได้ - การเข้ามาแข่งขันในตลาดทำไม่ได้ - เส้นอุปสงค์ของตลาดเป็นเส้นเดียวกับอุปสงค์ในสินค้าของผู้ผลิต
ดุลยภาพของผู้ผลิตในตลาดผูกขาด ดุลยภาพของผู้ผลิตในตลาดผูกขาด • เงื่อนไขของผู้ผลิตในตลาดผูกขาดที่ทำให้ได้รับกำไรสูงสุด MC = MR
ดุลยภาพของผู้ผลิตในตลาดผูกขาด ดุลยภาพของผู้ผลิตในตลาดผูกขาด • เงื่อนไขของผู้ผลิตในตลาดผูกขาดที่ทำให้ได้รับกำไรสูงสุด MC = MR
สรุป • ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ - ระยะสั้น ผู้ผลิตอาจได้รับกำไรปกติ กำไรเกินกว่าปกติ หรือขาดทุนก็ได้ ขึ้นอยู่กับต้นทุนของผู้ผลิต, ราคาตลาด - ระยะยาว ผู้ผลิตจะได้รับเฉพาะกำไรปกติเท่านั้น • ตลาดผูกขาด - ในระยะสั้นผู้ผลิตจะได้รับกำไรเกินปกติ, กำไรปกติ หรือขาดทุน ขึ้นอยู่กับต้นทุนของผู้ผลิต, ราคาตลาด -ในระยะยาวผู้ผลิตมีแนวโน้มจะได้รับกำไรเกินปกติ
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดและตลาดผู้ขายน้อยรายOligopoly and Monopolistic competition
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด • ลักษณะของตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด - สินค้าของผู้ขายมีความแตกต่างกัน เช่น รูปแบบของผลิตภัณฑ์ต่างกัน หรือ การบรรจุหีบห่อแตกต่างกัน - มีผู้ซื้อผู้ขายจำนวนมากราย และผู้ขายแต่ละคนสามารถควบคุมราคาสินค้าได้บ้าง - การแข่งขันทางด้านการขาย จะอาศัยการโฆษณาส่งเสริมการขาย -เส้นอุปสงค์ในสินค้าเป็นเส้นทอดลงจากซ้ายมาขวา มีค่าความชันเป็นลบ แต่จะมีค่าความยืดหยุ่นมากกว่าตลาดผูกขาด
ดุลยภาพในระยะสั้นของผู้ผลิตในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดดุลยภาพในระยะสั้นของผู้ผลิตในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ดุลยภาพในระยะยาวของผู้ผลิตในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดดุลยภาพในระยะยาวของผู้ผลิตในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
สรุป • ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด - ระยะสั้น ผู้ผลิต มีแนวโน้มจะได้รับกำไรเกินปกติ (P is higher than P in Perfect competitive market but lower than P in Monopoly, Q is less than Q in PC but greater than P in Monopoly) - ระยะยาว ผู้ผลิต มีแนวโน้มจะได้รับกำไรปกติ
ตลาดผู้ขายน้อยราย • มีผู้ขายเพียง 2-3 รายในตลาด • สินค้าอาจจะเหมือนกันหรือแตกต่างกันก็ได้ แต่สามารถใช้ทดแทนกันได้ • ผู้ผลิตขาดอิสระในการกำหนดราคา มักจะรวมหัวกันตั้งราคาเพื่อให้ได้กำไรสูงสุดร่วมกัน ดังนั้นราคาจะตายตัว • เส้นอุปสงค์ของสินค้าเป็นเส้นหักงอ
ดุลยภาพของผู้ผลิตในตลาดผู้ขายน้อยรายดุลยภาพของผู้ผลิตในตลาดผู้ขายน้อยราย
ดุลยภาพในระยะยาวของผู้ผลิตในตลาดผู้ขายน้อยรายดุลยภาพในระยะยาวของผู้ผลิตในตลาดผู้ขายน้อยราย • ปริมาณ และ ราคาดุลยภาพ ขึ้นกับการเปลี่ยนแปลงขนาดของกิจการ และความยากง่ายที่ผู้ผลิตใหม่จะเข้าสู่ตลาด • เน้นการแข่งขันโดยไม่ใช้ราคา (โฆษณาพัฒนาคุณภาพสินค้า )