430 likes | 769 Views
การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสาม. หลักการพัฒนาตัวบ่งชี้. มุ่งการประเมินผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบมากกว่าการประเมินปัจจัยนำเข้าและกระบวนการ เน้นตัวบ่งชี้ทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ ทั้งเชิงบวกและเชิงลบ ตระหนักถึงความสำคัญของปัจจัย ข้อจำกัด ตลอดจนวัฒนธรรมและความเป็นไทย
E N D
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
หลักการพัฒนาตัวบ่งชี้หลักการพัฒนาตัวบ่งชี้ • มุ่งการประเมินผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบมากกว่าการประเมินปัจจัยนำเข้าและกระบวนการ • เน้นตัวบ่งชี้ทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ ทั้งเชิงบวกและเชิงลบ • ตระหนักถึงความสำคัญของปัจจัย ข้อจำกัด ตลอดจนวัฒนธรรมและความเป็นไทย • มีตัวบ่งชี้พื้นฐานเท่าที่จำเป็น โดยเพิ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ และตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม • คำนึงถึงความเชื่อมโยงระหว่างการประกันคุณภาพภายในและการประกันคุณภาพภายนอก
ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม • ประเมินอิงเกณฑ์ตามจุดเน้นของสถานศึกษา • ประเมินคุณภาพภายนอกจากผลการจัดการศึกษาเป็นหลัก ตาม ม. 51 โดยให้น้ำหนัก 75% ใช้ข้อมูลเฉลี่ย 3 ปี • ประเมินโดยวิธีการและข้อมูล ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพโดย Peer Review • ประเมินโดยการยืนยันรายงานการประเมินตนเองที่ถูกต้องเชื่อถือได้ เพื่อกระตุ้นให้การประกันคุณภาพภายในมีความเข้มแข็ง
ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ต่อ)ทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ต่อ) 5. การประเมินเชิงกระบวนการ 25%โดยให้ความสำคัญ - สภาสถาบัน ผู้บริหาร - คุณภาพอาจารย์ บุคลากร - เครื่องมืออุปกรณ์ - คุณภาพและความพร้อมของผู้เรียน - การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ - การประกันคุณภาพภายใน
ตัวบ่งชี้สำหรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามตัวบ่งชี้สำหรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ตัวบ่งชี้สำหรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามระดับอุดมศึกษา จำนวน 18ตัวบ่งชี้ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน จำนวน 15 ตัวบ่งชี้ 2. ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ จำนวน 2 ตัวบ่งชี้ 3. ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม จำนวน 1 ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน • ตัวบ่งชี้ที่ประเมินภายใต้ภารกิจของสถานศึกษา เป็นตัวบ่งชี้ที่ประเมินบนพื้นฐานที่ทุกสถานศึกษาต้องมีและปฏิบัติได้ มีความเชื่อมโยงกับการประกันคุณภาพภายใน • เป็นตัวบ่งชี้ที่พัฒนามาจากการประเมินฯภายนอกรอบแรกและรอบสอง • มีจำนวน 15ตัวบ่งชี้ - ตัวบ่งชี้ที่ 1-11 เป็นตัวบ่งชี้ตามพันธกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา - ตัวบ่งชี้ที่ 12-14 เป็นตัวบ่งชี้ด้านการบริหารและพัฒนาสถาบัน - ตัวบ่งชี้ที่ 15 เป็นตัวบ่งชี้ด้านการประกันคุณภาพภายใน
. ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ • ตัวบ่งชี้ที่ประเมินผลผลิตของสถาบันอุดมศึกษาตาม - ปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา - ความสำเร็จตามจุดเน้น จุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนความป็นเอกลักษณ์ ของสถานศึกษา - ได้รับการอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัย - มีจำนวน 3 ตัวบ่งชี้
ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริมตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม • ตัวบ่งชี้ที่ประเมินผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยด้านการชี้แนะ ป้องกันหรือแก้ปัญหาของสังคม • มหาวิทยาลัยเป็นผู้กำหนดแนวทางพัฒนาเพื่อร่วมกันชี้แนะ ป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมตามนโยบายของรัฐ • มหาวิทยาลัยต้องเลือกนำเสนอผลการดำเนินการ 2 เรื่องและผ่านความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย • มหาวิทยาลัยสามารถปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาหรือปัญหาของสังคมที่เปลี่ยนไป • จำนวนตัวบ่งชี้ 1 ตัวบ่งชี้
การกำหนดค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้การกำหนดค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้ 1. ตัวบ่งชี้พื้นฐาน จำนวน 15 ตัวบ่งชี้ ค่าน้ำหนัก75% 2. ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ จำนวน 2 ตัวบ่งชี้ ค่าน้ำหนัก15% 3. ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม จำนวน 1 ตัวบ่งชี้ ค่าน้ำหนัก10%
ข้อมูลที่ใช้ประกอบการพิจารณาข้อมูลที่ใช้ประกอบการพิจารณา 1. ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณ ใช้ข้อมูลผลการดำเนินงาน 3 ปี ย้อนหลัง ก่อนการประเมิน 2. ตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพ ใช้ข้อมูลผลการดำเนินงาน 1 ปี ก่อนการประเมิน
การรับรองมาตรฐานคุณภาพการรับรองมาตรฐานคุณภาพ • เกณฑ์การพิจารณาเพื่อรับรองคุณภาพการจัดการศึกษา จะรับรองคุณภาพใน 2 ระดับ คือ 1. ระดับคณะวิชาหรือหน่วยงาน 2. ระดับสถาบัน
เกณฑ์การรับรองมาตรฐานคุณภาพระดับคณะวิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่าเกณฑ์การรับรองมาตรฐานคุณภาพระดับคณะวิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่า 1. ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน สมศ. 2. ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน สมศ.
การรับรองมาตรฐานคุณภาพระดับสถาบันการรับรองมาตรฐานคุณภาพระดับสถาบัน 1. ผลการรับรองมาตรฐานคุณภาพมี 2 ลักษณะ คือ 1.1 ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน สมศ. 1.2 ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน สมศ. 2. พิจารณาจากสัดส่วนของคณะวิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่าที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน สมศ.เทียบกับคณะวิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่าทั้งหมด
การตัดสินผลการประเมินคุณภาพภายนอกการตัดสินผลการประเมินคุณภาพภายนอก • การตัดสินผลการประเมินคุณภาพภายนอกป็นการนำ ผลการประเมินมาเปรียบเทียบเพื่อพิจารณาระดับคุณภาพ ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยกำหนดมิติของ การพิจารณาทั้งในภาพรวมและกลุ่มตัวบ่งชี้ตามเกณฑ์ ในการตัดสินผล
เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินคุณภาพภายนอกเกณฑ์การตัดสินผลการประเมินคุณภาพภายนอก