1 / 102

หน่วยที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ

หน่วยที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ. ระดับการจัดระบบของสิ่งมีชีวิต. ตัวอย่างการควบคุมระดับแคลเซียมด้วยฮอร์โมน. ต่อม (gland). ต่อม (gland) คือกลุ่มเซลล์ที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างมาเพื่อทำหน้าที่ผลิตสารที่จำเป็นต่อร่างกาย

iram
Download Presentation

หน่วยที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยที่ 9ระบบต่อมไร้ท่อ

  2. ระดับการจัดระบบของสิ่งมีชีวิตระดับการจัดระบบของสิ่งมีชีวิต

  3. ตัวอย่างการควบคุมระดับแคลเซียมด้วยฮอร์โมนตัวอย่างการควบคุมระดับแคลเซียมด้วยฮอร์โมน

  4. ต่อม (gland) • ต่อม (gland) คือกลุ่มเซลล์ที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างมาเพื่อทำหน้าที่ผลิตสารที่จำเป็นต่อร่างกาย • ต่อมมีท่อ (exocrine glands) เป็นต่อมที่หลั่งสารและไปมีผลต่อเซลล์เป้าหมายโดยผ่านท่อ เช่น ต่อมน้ำลาย ต่อมเหงื่อ ตับ และตับอ่อน • ต่อมไร้ท่อ (endocrine glands) เป็นต่อมที่หลั่งสารและไปมีผลต่อเซลล์เป้าหมายโดยผ่าน extracellular fluid เช่น ต่อมไพเนียล ต่อมใต้สมอง ต่อมไทรอยด์ ต่อมพาราไทรอยด์ ต่อมหมวกไต ตับอ่อน รังไข่ในเพศหญิงและอัณฑะในเพศชาย

  5. ต่อมมีท่อ (exocrine glands)

  6. ต่อมไร้ท่อ(Endocrine gland) เซลล์เป้าหมาย (target cell)

  7. Chemical messenger หรือmolecular messenger แบ่งเป็น 5 ชนิดดังนี้ • Paracrine (local regulator) • Neurotransmitter • Neurohormone • Hormone • Pheromone

  8. Paracrine (local regulator) ควบคุมเซลล์ของร่างกาย

  9. Neurotransmitter ควบคุมเซลล์ประสาท

  10. Neurohormone ทำหน้าที่เป็น Hormone ประสาท

  11. ฮอร์โมน • ฮอร์โมน หมายถึงสารเคมีที่สร้างมาจากเซลล์ของต่อมไร้ท่อ(endocrine cell) และไปมีผลควบคุมการทำงานของเซลล์เป้าหมายที่อยู่ห่างออกไป โดยขนส่งไปตามกระเสเลือด

  12. การควบคุมการหลั่งฮอร์โมนแบบยับยั้งย้อนกลับ (negative feedback)

  13. ประเภทของฮอร์โมนตามชนิดของสารประเภทของฮอร์โมนตามชนิดของสาร เป็นพวก Amine Group ได้แก่ ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง คือ Vasopressin, และ Adrenalin เป็นพวก Protein หรือ Polypeptide ได้แก่ ฮอร์โมนจากต่อมไธรอยด์ เป็นพวก Steroid ได้แก่ ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมเพศ และสร้างจาก Adrenal Medulla

  14. ฮอร์โมนชนิด steroid

  15. ตำแหน่งต่อมไร้ท่อในผู้หญิง และผู้ชาย

  16. ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) • ต่อมใต้สมอง เป็นต่อมที่มีความสำคัญมาก เพราะฮอร์โมนจากต่อมนี้ไปควบคุมต่อมไร้ท่ออื่นๆอีกต่อหนึ่งแบ่งเป็น 3 ส่วน • ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (anterior pituitary) • ต่อมใต้สมองส่วนกลาง (intermediate lobe) • ต่อมใต้สมองส่วนหลัง (posterior pituitary)

  17. The anterior pituitary (adenohypophysis) is a classical gland The posterior pituitary (neurohypophysis) is not really an organ

  18. Hormone จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า

  19. Growth hormone(GH)or Somatotrophic hormone (STH) • เป็นฮอร์โมนที่สร้างออกมาจาก pituitary gland • มีหน้าที่สำคัญในการควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย • กระตุ้นการเจริญเติบโตของกระดูกยาวทำให้ร่างกายมีส่วนสูงเพิ่มมากขึ้น • ส่งเสริมการเจริญของกระดูกอ่อน และทำให้ osteoblasts เจริญไปเป็นกระดูก

  20. โรคเตี้ยแคระ (dwarfism) ลักษณะของคนที่มี GH น้อยเกินไปทำในวัยเด็ก ทำให้เป็นโรค Dwarfism คือทำให้มีลักษณะเตี้ยแคระ

  21. โรคยักษ์ (gigantism) ลักษณะของคนที่มี GH มากเกินไป ในวัยเด็กคือมีลักษณะสูงใหญ่เหมือนยักษ์ เรียก Giantism

  22. Acromegaly ลักษณะของคนที่มี GH มากเกินไป ในวัยผู้ใหญ่ คือทำให้กระดูกบางบริเวณเจริญเติบโตมากผิดปกติ เช่น กระดูกคาง กระดูกนิ้วมือ กระดูกนิ้วเท้า เรียก Acromegaly

  23. โพรแลกติน (Prolactin) • มีหน้าที่สำคัญคือ กระตุ้นต่อมน้ำนมให้สร้างน้ำนม สำหรับเลี้ยงทารกภายหลังการคลอด • ทำหน้าที่ร่วมกับ GH estrogen และ progesterone ในการกระตุ้นให้เต้านมเจริญเติบโตเพื่อการสร้างน้ำนมขณะตั้งครรภ์ • เพศหญิงจะมีเพิ่มมากขึ้นในขณะตั้งครรภ์ และจะสูงสุดตอนคลอด

  24. Prolactin

  25. อะดรีโนคอร์ติโคโทรฟิน (Adrenocorticotropin: ACTH ) • กระตุ้นอะดรีนัลคอร์เทกซ์ (adrenal cortex) ของต่อมหมวกไตให้มีการเจริญเติบโตและสังเคราะห์ฮอร์โมนทำหน้าที่อย่างปกติ • เมื่อต่อมใต้สมองส่วนหน้าสังเคราะห์และสร้าง ACTH และปล่อยเข้ากระแสเลือดเพื่อส่งมากระตุ้น adrenal cortex ในการสร้าง cortisol แล้ว ตัว cortisol นี้จะมีผล negative feedback control ต่อการสังเคราะห์ ACTH • เมื่อร่างกายได้รับสารหรือสารสังเคราะห์ของ cortisol เป็นจำนวนมากจะทำให้การสังเคราะห์ ACTH น้อยลง

  26. Adrenal gland

  27. Adrenal gland

  28. Adrenocorticotropic Hormone

  29. ต่อมหมวกไต (adrenal gland) เป็นต่อมไร้ท่อที่อยู่เหนือไตทั้ง 2 ข้างของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ต่อมหมวกไตประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้น • ชั้นนอก เรียกว่า Adrenal Cortex • ต่อมหมวกไตชั้นนอกเจริญมาจากเนื้อเยื่อ mesoderm สร้างพวก steroidhormones • ชั้นใน เรียกว่า Adrenal Medulla • ต่อมหมวกไตชั้นในเจริญมาจากเนื้อเยื่อ ectoderm พวก neural crest สร้างพวก amine hormonesเนื้อเยื้อทั้ง 2 ชั้น นี้จะผลิตฮอร์โมนแตกต่างกัน • ฮอร์โมนที่หลั่งออกมาจากต่อมหมวกไตชั้นนอกและชั้นใน ทำให้ร่างกายตอบสนองต่อความเครียดหรือสถานการณ์ที่บีบบังคับและกดดัน (stress)

  30. (A) ตำแหน่งของต่อมหมวกไต (B) ส่วนประกอบของต่อมหมวกไต

  31. การทำงานของต่อมหมวกไตชั้นนอก (adrenal cortex) ต่อมหมวกไตชั้นนอกจะสร้างฮอร์โมนออกมาทำงานร่วมกับฮอร์โมนที่มาจากต่อมหมวกไตชั้นใน (adrenal medulla) เพื่อตอบสนองต่อความเครียดหรือสถานการณ์ที่กดดัน (stress) ในการตอบสนองต่อความเครียดของฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตชั้นนอกจะช้าและเกิดอยู่เป็นเวลานาน (long-term stress response) ซึ่งต่างกับฮอร์โมนที่มาจากต่อมหมวกไตชั้นในที่จะตอบสนองต่อความเครียดอย่างรวดเร็วแต่เกิดอยู่ในช่วงสั้นๆ (short-term stress response)

  32. การทำงานของต่อมหมวกไตชั้นใน (adrenal medulla) ต่อมหมวกไตชั้นใน (adrenal medulla) สร้างฮอร์โมนที่เรียกว่า “fight or flight hormones” หมายถึง ฮอร์โมนที่ใช้ในการต่อสู้หรือวิ่งหนีเมื่อเผชิญกับสภาวะที่กดดันหรือมีอันตราย การทำงานของฮอร์โมนจะเป็นแบบที่ตอบสนองอย่างรวดเร็วฉับไวในช่วงสั้นๆ (rapid, short-term response) ต่อสถานการณ์ที่เผชิญอยู่

More Related