220 likes | 503 Views
AEC 466: Economics of Agricultural Development บทที่ 7 : นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกประเทศ. บทที่ 7 : นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร. 7.1 นโยบายและมาตรการของรัฐ 7.2 การค้าระหว่างประเทศ 7.3 องค์กรระหว่างประเทศ 7.4 การเมืองระหว่างประเทศ.
E N D
AEC 466: Economics of Agricultural Developmentบทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกประเทศ บทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร 7.1นโยบายและมาตรการของรัฐ 7.2การค้าระหว่างประเทศ 7.3องค์กรระหว่างประเทศ 7.4การเมืองระหว่างประเทศ
AEC 466: Economics of Agricultural Developmentบทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกประเทศ 7.4 การเมืองระหว่างประเทศ • บทบาทของการค้า การเศรษฐกิจและการเมืองระหว่างประเทศ มีความเกี่ยวโยงซึ่งกันและกัน • ความขัดแย้งทางการเมือง นำมาซึ่งปัญหาทางด้านการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ • “การใช้มาตรการทางด้านเศรษฐกิจในการตอบโต้ เรื่องการเมืองระหว่างประเทศ” • เช่น เหตุการณ์ในประเทศจีน พม่า แอฟริกาใต้ • หรือไทยกับสหรัฐ
AEC 466: Economics of Agricultural Developmentบทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกประเทศ 7.4 การเมืองระหว่างประเทศ • การเมืองจึงมีผลต่อการพัฒนาการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาประเทศและการพัฒนาการเกษตรอีกต่อหนึ่ง • ประเด็น “การเมืองระหว่างประเทศกับความช่วยเหลือระหว่างประเทศ” เช่น การให้เงินช่วยเหลือหรือให้เปล่า
บทที่ 8: ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทาง การเกษตร 8.1การพึ่งพาระบบตลาด 8.2การอพยพย้ายถิ่นฐาน 8.3การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม 8.4คุณภาพชีวิต
การแข่งขันที่สูงมากขึ้น ต้องพยายามลดต้นทุน ราคาเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ตามสภาวะตลาด รายได้ของเกษตรกรไม่แน่นอน ชีวิตความเป็นอยู่เสี่ยงมากขึ้นจากการพึ่งพาระบบตลาด 8.1การพึ่งพาระบบตลาด การเปลี่ยนแปลงสู่ระบบการผลิตเพื่อการค้า ทำให้ต้องผลิตตามที่ตลาดต้องการ
8.1การพึ่งพาระบบตลาด • การผลิตเปลี่ยนไปในทิศทางที่เกษตรกรพึ่งพาปัจจัย ภายนอกที่ควบคุมไม่ได้มากขึ้น เช่น การค้า องค์กรและ การเมืองระหว่างประเทศ • เช่น การทำ FTA ทำให้เกษตรกรต้องเลิกปลูกกระเทียม • การพึ่งพาระบบตลาด ทำให้เกษตรกรต้องเผชิญความเสี่ยงมากขึ้นทั้งด้านการผลิต: สภาพดินฟ้าอากาศ โรคแมลง และการตลาด: ความแปรปรวนของราคาจากทั้งปัจจัยภายในและภายนอก
8.1การพึ่งพาระบบตลาด (ต่อ) • เกษตรกรลดความเสี่ยงด้านการตลาดได้โดย • ปลูกเพื่อบริโภคและปลูกพืชหลายอย่าง • เกษตรผสมผสานหรือทำอาชีพเสริม • การขายเหมาหรือทำสัญญาขายไว้ล่วงหน้า • ลดต้นทุนเงินสดหรือลดการใช้ปัจจัยภายนอก
8.2การอพยพย้ายถิ่นฐานของแรงงานเกษตร8.2การอพยพย้ายถิ่นฐานของแรงงานเกษตร • การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิต • ใช้เครื่องจักรกลมากขึ้น ทุ่นแรง • ใช้ปัจจัยการผลิต เช่น สารเคมี ทดแทนแรงงาน • แรงงานเกษตรว่างงานเพิ่มขึ้น ต้องอพยพออกไปหางานนอกภาคเกษตรทดแทน • แรงงานอพยพเป็นแรงงานที่มีการศึกษาดี ทำให้การพัฒนาภาคเกษตรช้า ขาดคนมีความรู้ในการพัฒนาภาคการเกษตร
8.2การอพยพย้ายถิ่นฐานของแรงงานเกษตร8.2การอพยพย้ายถิ่นฐานของแรงงานเกษตร • การอพยพแรงงานจาก 2สาเหตุ คือ • ประสิทธิภาพในการผลิตเพิ่มขึ้น ก่อให้เกิด แรงงานส่วนเกินขึ้น • ประสิทธิภาพการผลิตต่ำ รายได้ไม่เพียงพอ • การอพยพที่มากกว่าโอกาสในการจ้างงานเป็นทั้งอาการและสาเหตุของการด้อยพัฒนา (Michael Todaro, 1999. “Economic Development”)
8.2การอพยพย้ายถิ่นฐานของแรงงานเกษตร8.2การอพยพย้ายถิ่นฐานของแรงงานเกษตร • ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจอพยพแรงงานมี 2 ปัจจัยคือ • ปัจจัยที่เป็นตัวผลัก (Push Factors) เกิดจากความไม่พอใจในสภาพเดิมในชนบท เช่น ความยากจน หนีภัยพิบัติทางธรรมชาติ • ปัจจัยที่เป็นตัวดึง (Pull Factors) กระตุ้นให้คนอยากออกมาจากภาคเกษตร เช่น ความทันสมัย รายได้ที่สูงกว่า
8.2การอพยพย้ายถิ่นฐานของแรงงานเกษตร8.2การอพยพย้ายถิ่นฐานของแรงงานเกษตร • การตัดสินใจอพยพ มักจะมีทั้งปัจจัยผลักและปัจจัยดึงพร้อมๆ กัน • ประเด็นคือ ถ้าปัจจัยที่เป็นตัวผลักมีมากกว่าปัจจัยที่เป็นตัวดึง => เป็นเครื่องชี้ว่าการพัฒนาการเกษตรในชนบทไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร
8.3การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคม8.3การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคม • การผลิตทางการเกษตรมีความเกี่ยวโยงกับเศรษฐกิจนอกภาคเกษตร อย่างแยกกันลำบาก • โครงสร้างการผลิตทางการเกษตรที่เปลี่ยนแปลงไป เป็นตัวสนับสนุนให้ภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องขยายตัว • รวมทั้งการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว การตลาด การเงิน และนโยบายของรัฐ • ดึงดูดการลงทุนทั้งในประเทศและจากต่างประเทศ
8.3การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคม8.3การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคม • การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ส่งผลให้โครงสร้างทางเศรษฐกิจเปลี่ยนจากเกษตรกรรมเป็นอุตสาหกรรมมากขึ้น • ดูจาก GDPของภาคเกษตรเปรียบเทียบกับGDP ของภาคอุตสาหกรรม ที่มีแนวโน้มเป็นการผลิตในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น
8.3การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคม8.3การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคม • การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีเกษตร ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างสังคม • ความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนบ้านหรือเครือญาติลดลง • ลักษณะของผู้นำในหมู่บ้านเปลี่ยนแปลงไป • มีการแบ่งชนชั้นทางสังคมมากขึ้น • ขาดแคลนผู้นำที่ดีในชุมชน • ขาดผู้รับการถ่ายทอดวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น • โครงสร้างสถาบันครอบครัวที่อ่อนแอลง
8.4คุณภาพชีวิต • การเปลี่ยนแปลงทางด้านการเกษตร ทำให้คุณภาพชีวิตของทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งมีทั้งแง่บวกและลบ • ผลกระทบด้านบวก: • ความเป็นอยู่ดีขึ้น มีสิ่งอำนวยความสะดวกมากขึ้น จากรายได้ที่เพิ่มขึ้น • โอกาสทางการศึกษาของลูกหลานเพิ่มขึ้น
8.4คุณภาพชีวิต • ผลกระทบด้านลบ: • การใช้สารเคมีเพิ่มขึ้น ส่งผลเสียต่อสุขภาพอนามัยทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม • ภาระหนี้สินเพิ่มขึ้น จากความต้องการเงินทุนที่เพิ่มขึ้น เพื่อซื้อปัจจัยการผลิตจากภายนอก • การแข่งขันในการผลิตและการตลาด ทำให้การคำนึงถึงคุณค่าและความปลอดภัยของผลผลิตมีน้อยลง
สรุป การเปลี่ยนแปลงทางด้านการเกษตร • การผลิตเพื่อการค้า => การพึ่งพาระบบตลาดมากขึ้น เกษตรกรเผชิญความเสี่ยงด้านการตลาดเพิ่มขึ้น • การใช้ทุนแทนแรงงาน => แรงงานว่างงานเพิ่มขึ้นมีการอพยพเข้าเมืองเพิ่มขึ้น เป็นปัญหาตามมา • มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม • มีผลต่อคุณภาพชีวิตของเกษตรกรและผู้บริโภค
การเคลื่อนไหวของราคาลิ้นจี่ที่เกษตรกรขายได้การเคลื่อนไหวของราคาลิ้นจี่ที่เกษตรกรขายได้
สัดส่วนของแรงงานเกษตรและแรงงานนอกเกษตร ตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 3-8
การเจริญเติบโตของภาคเกษตรกับประสิทธิภาพแรงงานการเจริญเติบโตของภาคเกษตรกับประสิทธิภาพแรงงาน
GDPภาคเกษตรและภาคอุตสาหกรรมGDPภาคเกษตรและภาคอุตสาหกรรม พันล้านบาท ภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตร