260 likes | 695 Views
รหัสวิชา 387102. อาจารย์ผู้สอน : อาจารย์ชัชวาลย์ ชิงชัย. ปรัชญาทั่วไป General Philosophy. แผนการสอน (Course Syllabus). 1. คณะ มนุษยศาสตร์ ภาควิชา ปรัชญาและศาสนา 2. รหัสวิชา 387102 ชื่อวิชา ( ภาษาไทย ) ปรัชญาทั่วไป (หมู่ 2)
E N D
รหัสวิชา 387102 อาจารย์ผู้สอน : อาจารย์ชัชวาลย์ ชิงชัย ปรัชญาทั่วไป General Philosophy
แผนการสอน (Course Syllabus) 1. คณะมนุษยศาสตร์ ภาควิชาปรัชญาและศาสนา 2. รหัสวิชา 387102 ชื่อวิชา (ภาษาไทย) ปรัชญาทั่วไป (หมู่ 2) จำนวน 3 หน่วยกิต(ภาษาอังกฤษ) General Philosophy
คำอธิบายรายวิชา (Course Description) ความหมาย ขอบเขต และปัญหาปรัชญา ความคิดทางปรัชญาที่สำคัญ การประยุกต์ใช้ปรัชญากับชีวิตและสังคม Meaning, scope and problems of philosophy. Important philosophical ideas. Application of philosophy to life and society.
3. วัตถุประสงค์ของวิชา 3.1 เพื่อฝึกระบบความคิดให้เป็นเหตุและเป็นผล 3.2 เพื่อการยอมรับความคิดเห็นในเชิงเหตุผลของผู้อื่น 3.3 เพื่อการนำปรัชญาไปประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาชีวิต และสังคม
4. เค้าโครงรายวิชา (Course Outline) 4.1 ความหมายของปรัชญาในทางตะวันออกและ ทางตะวันตก 3 ชั่วโมง 4.2 ความสัมพันธ์ของปรัชญากับวิชาการแขนงอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1 ½ ชั่วโมง 4.3 ขอบเขตและปัญหาปรัชญา : อภิปรัชญา ญาณวิทยา และคุณวิทยาโดยเน้น จริยศาสตร์ 1 ½ ชั่วโมง
4. เค้าโครงรายวิชา (Course Outline) 4.4อภิปรัชญาในลักษณะทั่วไปและความคิดเกี่ยวกับมนุษย์ 4.4.1 จิตนิยม 6 ชั่วโมง 4.4.2 สสารนิยม 6 ชั่วโมง 4.5 ญาณวิทยา 4.5.1 เหตุผลนิยม 3 ชั่วโมง 4.5.2 ประสบการณ์นิยม 3 ชั่วโมง 4.5.3 สัญชาตญาณนิยม 3 ชั่วโมง
4. เค้าโครงรายวิชา (Course Outline) 4.6 คุณวิทยาในส่วนของจริยศาสตร์ 4.6.1 อุดมคติของชีวิต 6 ชั่วโมง 4.6.2 มาตรการตัดสินศีลธรรม 6 ชั่วโมง 4.7 การประยุกต์ใช้ปรัชญากับชีวิตและสังคม 6 ชั่วโมง รวม 45 ชั่วโมง
5. วิธีการสอนและระบบการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 5.1 บรรยายตามหัวข้อ 5.2 อภิปราย ซักถามปัญหา
6. การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน 6.1 การมีส่วนรวมในการเรียน 10 คะแนน 6.2 ทำงานท้ายชั่วโมง 10 คะแนน 6.3 รายงานอิสระ 20 คะแนน 6.4 สอบปลายภาค 60 คะแนน รวม 100 คะแนน หมายเหตุ 6.3 นิสิตจะทำหรือไม่ก็ได้ ถ้าไม่ทำต้องสอบปลายภาค 80 คะแนน
?.. 7. การประเมินผลการเรียน ใช้ทั้งอิงเกณฑ์และอิงกลุ่ม มีการยืดหยุ่นเพื่อความเหมาะสมขึ้นอยู่กับนิสิตที่ลงทะเบียนเรียน
8. การให้โอกาสนอกเวลาเรียนแก่นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำ ในด้านการเรียน - ทุกเวลาที่ว่างหรือในเวลาที่นัดหมาย - โทรศัพท์ 0-2579-5566-8 ต่อ 506 - โทรศัพท์มือถือ 081-2458482 - E-Mail Address : fhumcwc@ku.ac.th Website: http://www.rilc.ku.ac.th/rilc.ku.ac.th/chachawarn.html
9. อุปกรณ์สื่อการสอน 9.1 กระดานดำ 9.2 เครื่องฉายข้ามศีรษะ 9.3 วีดีโอ 9.4 เพาเวอร์พอยท์ 9.5 เอกสารประกอบการบรรยาย 9.6 สไลด์ 9.7 โฮมเพจรายวิชา
10. เอกสารอ่านประกอบการเรียน กีรติบุญเจือ. จริยศาสตร์สำหรับผู้เริ่มเรียน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2519. เฉลิมเกียรติผิวนวล.อภิจริยศาสตร์. กรุงเทพฯ : สมิต.ไม่ ปรากฏปีที่พิมพ์. ชัชชัยคุ้มทวีพร.จริยศาสตร์ทฤษฎีและการวิเคราะห์ปัญหาจริยธรรม. กรุงเทพฯ : Mild Publishing. 2540. วศินอินทสระ. จริยศาสตร์. กรุงเทพฯ :บรรณาคาร. 2529 .
วิทย์วิศทเวทย์. จริยศาสตร์เบื้องต้น. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์, 2532. . ปรัชญาทั่วไป. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์. พิมพ์ครั้งที่ 9. 2533. สุเชาวน์พลอยชุม. ปรัชญาทั่วไป. กรุงเทพฯ: มหามกุฎราชวิทยาลัย, 2538. . จริยศาสตร์แนวพุทธ. กรุงเทพฯ: มหามกุฎราชวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2532.
11. ตารางสอนตลอดภาคเรียน
11. ตารางสอนตลอดภาคเรียน(ต่อ)
11. ตารางสอนตลอดภาคเรียน(ต่อ)
11. ตารางสอนตลอดภาคเรียน(ต่อ)
11. ตารางสอนตลอดภาคเรียน(ต่อ)
หมายเหตุ : • 1. แต่งกายให้ถูกต้องตามระเบียบฝ่าฝืนจะไม่ได้รับอนุญาต ให้เข้าชั้นเรียน • 2. เข้าเรียนไม่ทัน 15 นาทีถือว่าขาดเรียนและจะมีการเช็คชื่อ ทุกครั้งภายใน 15 นาทีแรกกรุณาตรงต่อเวลา • 3. นิสิตจะต้องมีเวลาเรียน 80% จึงจะมีสิทธิ์สอบ (ขาดเรียน ตลอดภาคเรียนได้เพียง3 ครั้ง เท่านั้น)
4. ไม่ส่งเสียงรบกวนขณะฟังบรรยาย 5. ปิดอุปกรณ์การสื่อสารทุกชนิดขณะฟังบรรยายฝ่าฝืนจะถูก เตือนถูกตัดคะแนนและรายงานให้อาจารย์ที่ปรึกษาทราบตาม ควรแก่กรณี
ขึ้นชื่อว่าวิชาควรศึกษาทุกอย่างไปขึ้นชื่อว่าวิชาควรศึกษาทุกอย่างไป ศึกษาให้เข้าใจเป็นคุณเครื่องเรืองปัญญา แต่ว่าอย่าพึงใช้ทุกอย่างไปที่ศึกษา ชีวิตและเวลาเป็นปัญหาให้จำนน จะใช้วิชาใดจงใส่ใจในเหตุผล ทำใดต้องใจคนนั่นคือผลของวิชา
ขอให้ทุกคนจงโชคดี ตามสติกำลังของแต่ละคน