210 likes | 371 Views
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. การใช้กลไกศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี ในการดำเนินงานโครงการและภารกิจของ กรมส่งเสริมการเกษตร (แก้ไขปัญหาความยากจน). โดย ว่าที่ร้อยตรีนรินทร์ แขมพิมาย ส่วนพัฒนาศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี. ความเป็นมา.
E N D
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบลศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การใช้กลไกศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีในการดำเนินงานโครงการและภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร(แก้ไขปัญหาความยากจน) โดย ว่าที่ร้อยตรีนรินทร์ แขมพิมาย ส่วนพัฒนาศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยี
ความเป็นมา • 21 พ.ย. 43 มติครม. เห็นชอบหลักการโครงการศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีชุมชน • ตั้งศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร - ยึดอาชีพเกษตรกร • ปัจจุบันมี 7,105 ศูนย์
องค์ประกอบของศูนย์ • ที่ทำการศูนย์ แสดงข้อมูล / ถ่ายทอดความรู้ • คณะกรรมการบริหารศูนย์ การสรรหาตามหนังสือที่ กษ 1009/ว.471 ลงวันที่ 17 เม.ย. 46 นวส.เป็นเลขาศูนย์ • แผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล • จุดสาธิต/จุดถ่ายทอดความรู้ วิทยากรเกษตรกร • เกษตรกรผู้นำ,อาสาเกษตรและสมาชิกศูนย์
สรุปขั้นตอนการดำเนินงานศูนย์บริการฯ 6 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมความพร้อมชุมชน ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตร ขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติงานตามแผน ขั้นตอนที่ 4 การจดทะเบียนและให้บริการ ขั้นตอนที่ 5 การจัดตั้งศูนย์บริการด้านการเกษตร (คลินิกเกษตร) ขั้นตอนที่ 6 การค้าขายทางอิเล็คทรอนิก
การให้บริการของศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรการให้บริการของศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร เน้นการบูรณาการหน่วยงานภาครัฐ กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ลงสู่พื้นที่ “โดยยึดปัญหาของชุมชน (เกษตรกร) เป็นหลักเพื่อให้เกิดการบริการ ณ จุดเดียว”
การดำเนินการโดยใช้ศูนย์บริการฯ เป็นกลไกดำเนินงาน • ภาครัฐ 1. การส่งข้อมูลข่าวสารจากโครงการสู่จังหวัด (โดยสื่อต่างๆ) 2. จังหวัด (คณะทำงาน) บูรณาการ ส่งอำเภอ ศูนย์บริการฯ และ อปท. ทราบ 3. คณะกรรมการศูนย์บริการฯ จัดประชุมประจำเดือน 4. คณะกรรมการศูนย์ (โดยการสนับสนุนจากอำเภอ+อปท.) ประชาสัมพันธ์สู่ชุมชน (ต่อ)
การดำเนินการโดยใช้ศูนย์บริการฯ เป็นกลไกดำเนินงาน (ต่อ) 5. กรรมการศูนย์ร่วมกับ กม.จัดเวทีชุมชน/ประชาคม - เสนอปัญหาความต้องการ - แผนหมู่บ้าน / แผนตำบล - เสนอความต้องการ (แผน) ต่อ อปท.และอำเภอ 6. อำเภอรวบรวมความต้องการ (แผน) เสนอหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง, จังหวัด 7. จังหวัดสรุปเสนอหน่วยงานอื่นและCEO 8. กรรมการศูนย์แจ้งเกษตรกรเป้าหมาย / คัดเลือกเกษตรกรร่วมโครงการ
การแก้ไขปัญหาความยากจนโดยกลไกศูนย์บริการฯการแก้ไขปัญหาความยากจนโดยกลไกศูนย์บริการฯ 1. คณะกรรมการศูนย์จัดทำทะเบียน / ข้อมูลครัวเรือนเกษตรกร 2. คณะกรรมการศูนย์จัดเวทีชุมชน 3. การกำหนดประเด็นปัญหาและความต้องการ (แผนครัวเรือน / แผนชุมชน) 4. การปฏิบัติงานตามแผน 5. การติดตาม / เยี่ยมเยียนเกษตรกรในหมู่บ้านยากจน รายละเอียด
การแก้ไขปัญหาความยากจนโดยขบวนการในการเรียนรู้และให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาการแก้ไขปัญหาความยากจนโดยขบวนการในการเรียนรู้และให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจแก้ไขปัญหา 1. คณะกรรมการศูนย์จัดทำข้อมูลรายครัวเรือนเกษตรกรลงทะเบียนคนจน 2. คณะกรรมการศูนย์จัดเวทีชุมชนในหมู่บ้านยากจน (ตามบัญชีเป้าหมาย) ประมาณ 30-50 คน - ผู้นำ - เกษตรกรที่ลงทะเบียน - อาสาสมัคร - กลุ่มอาชีพ ฯลฯ (ต่อ)
3. ผู้นำชุมชน อาสาสมัคร กลุ่มอาชีพ เสนอข้อมูลด้านต่างๆ เพื่อ * วิเคราะห์ศักยภาพครัวเรือน * แลกเปลี่ยนเรียนรู้ * กำหนดปัญหา * เสนอทางเลือกแก้ไขปัญหา การแก้ไขปัญหาความยากจนฯ (ต่อ) (ต่อ)
การแก้ไขปัญหาความยากจนฯ (ต่อ) 4. สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการในการเรียนรู้ของเกษตรกร (แผนชุมชน) 1) การถ่ายทอดเทคโนโลยี / การเรียนรู้ 2) การดำเนินการกิจกรรมแก้ไขความยากจนตามองค์ความรู้ * แนวเศรษฐกิจพอเพียง (ลดรายจ่าย, เพิ่มรายได้, ขยายโอกาส) * ลงทุน / สร้างรายได้ (ต่อ)
การแก้ไขปัญหาความยากจนฯ (ต่อ) 5. การปฏิบัติงานตามแผน * เกษตรกรเป้าหมายได้รับความช่วยเหลือ * ภาครัฐสนับสนุนวิชาการ * อปท. สนับสนุนงบประมาณ 6. ติดตามและประเมินรายได้ของเกษตรกร (รายสัปดาห์ / ปักษ์) * เยี่ยมเยียนให้คำแนะนำ / แก้ไขปัญหา * จุดนัดพบ * ติดตามการปฏิบัติงาน * ประเมินรายได้หลังจากที่ได้รับขบวนการเรียนรู้ (ต่อ)
กรมส่งเสริมการเกษตร แหล่งงบประมาณ จังหวัด (ศตจ. จังหวัด) CEO/อบจ. แผนระดับจังหวัด ส่วนราชการต่างๆ เสนอความต้องการ การวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ แผนระดับอำเภอ อำเภอ (ศตจ. อำเภอ) ส่วนราชการต่างๆ / ธกส. เสนอความต้องการ การวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ ตำบล (ศตจ. ตำบล) แผนพัฒนาการเกษตร ระดับตำบล อปท. (แผนท้องถิ่น) เสนอความต้องการ การวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ หมู่บ้าน/ชุมชนยากจน (กม.) แผนชุมชน (แผนรายครัวเรือน)
กรมส่งเสริมการเกษตร งบประมาณ CEO/อบจ. จังหวัด (ศตจ. จังหวัด) แผนฯระดับจังหวัด ส่วนราชการต่างๆ เสนอความต้องการ การวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ แผนฯระดับอำเภอ (ต่อ)
กรมส่งเสริมการเกษตร งบประมาณ อำเภอ (ศตจ. อำเภอ) แผนฯระดับอำเภอ ส่วนราชการต่างๆ /ธกส. เสนอความต้องการ การวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ แผนพัฒนาการเกษตร ระดับตำบล (ต่อ)
กรมส่งเสริมการเกษตร งบประมาณ แผนพัฒนาการเกษตร ระดับตำบล ตำบล (ศตจ.) อปท. (แผนท้องถิ่น) เสนอความต้องการ การวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ หมู่บ้าน/ชุมชนยากจน (กรรมการหมู่บ้าน) แผนชุมชน (แผนรายครัวเรือน)
แผนชุมชน (แผนรายครัวเรือน) หมู่บ้าน/ชุมชนยากจน (กรรมการหมู่บ้าน) การดำเนินการแก้ไขปัญหาความยากจน ขั้นตอนที่ 2 (FamilyPlan) ขั้นตอนที่ 1 (Family Folder) 1. วิเคราะห์ข้อมูล ปัญหา ความต้องการของเกษตรกรและ ครัวเรือน 2. จัดทำเวทีชุมชน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของเกษตรกรในชุมชน 3. จัดทำความต้องการ (Need) ของ ชุมชน, แผนรายครัวเรือน 4. จัดทำแผนพัฒนาการเกษตรหมู่บ้าน 1. จัดทำข้อมูลของครัวเรือน
บทสรุป บทบาท ของกรรมการบริหารศูนย์ * การจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรครัวเรือนยากจน * วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำแผนพัฒนาการเกษตร * จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / โรงเรียนเกษตรกร * สรุปปัญหาและความต้องการของเกษตรกรยากจน * เยี่ยมเยียน ติดตามให้คำแนะนำและรับเรื่องจากเกษตรกร * ให้บริการเอกสารคำแนะนำการประกอบอาชีพ
เลขานุการศูนย์ / นวส. อำเภอ * เป็นวิทยากรบรรยายความรู้ * เป็นวิทยากรกระบวนการในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ / ขบวนการในการ เรียนรู้และการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจแก้ไขปัญหา * จัดโรงเรียนถ่ายทอดความรู้ / ประสานงานหน่วยงานต่างๆ * ให้คำแนะนำ / ปรึกษาด้านการเกษตรและบริการข้อมูลวิชาการ * เยี่ยมเยียนเกษตรกรตามแผนเยี่ยม
อปท. * สนับสนุนงบประมาณศูนย์บริการฯ ตามหนังสือกรมการปกครองท้องถิ่น ที่มท. 0810.2/ว 6628 ลงวันที่ 2 ก.ย. 2546 ถึงผู้ว่าราชการจังหวัด * กรมฯ แจ้งจังหวัด หนังสือที่ กษ 1009/ว 1441 ลงวันที่ 24 ก.ย. 2546