1.27k likes | 2.17k Views
Acid Base Sarote Boonseng Department of Chemistry e-mail: sarote@mwit.ac.th. Mahidol Wittayanusorn School. Introduction. กรด เบส เป็นเรื่องเกี่ยวกับสมดุลอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากสารจำพวกอิเล็กโทรไลต์. Mahidol Wittayanusorn School. สารละลายอิเล็กโทรไลต์และนอนอิเล็กโทรไลต์.
E N D
Acid BaseSaroteBoonsengDepartment of Chemistrye-mail: sarote@mwit.ac.th Mahidol Wittayanusorn School www.themegallery.com
Introduction กรด เบส เป็นเรื่องเกี่ยวกับสมดุลอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากสารจำพวกอิเล็กโทรไลต์ MahidolWittayanusorn School www.themegallery.com
สารละลายอิเล็กโทรไลต์และนอนอิเล็กโทรไลต์สารละลายอิเล็กโทรไลต์และนอนอิเล็กโทรไลต์ สารอิเล็กโทรไลต์ คือ สารที่เมื่อละลายน้ำจะแตกตัวเป็นไอออน บวกและไอออนลบในสารละลาย • อิเล็กโทรไลต์แก่ • อิเล็กโทรไลต์อ่อน สารนอนอิเล็กโทรไลต์ คือ สารที่ไม่แตกตัวเป็นไอออนเมื่อละลายน้ำ และเรียกสารละลายนั้นว่าสารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์ Mahidol Wittayanusorn School 3 www.themegallery.com
C+ D- + A-B ‑ สาร 2 ชนิดมีสูตร AB และ CD เมื่อละลายน้ำจะเกิดการเปลี่ยนแปลงดังรูป a และ b ตามลำดับ สารใดน่าจะเป็นสารอิเล็กโทรไลต์เพราะเหตุใด b a Mahidol Wittayanusorn School 4 www.themegallery.com
นิยามกรด-เบส ลักษณะความเป็นกรด เบสได้มีนักวิทยาศาสตร์หลายท่านให้คำนิยามไว้แตกต่างกันไป คนแรกที่นิยามกรดและเบสก็คือ รอเบิร์ต บอยล์ ซึ่งรอเบิร์ต บอยล์ (1680) ให้นิยามกรดและเบสว่า กรดละลายสารได้หลายชนิด เปลี่ยนสีย้อมของสีย้อมธรรมชาติ และเมื่อทำปฏิกิริยากับด่าง (เบส) จะเสียสภาพความเป็นกรด Mahidol Wittayanusorn School 5 www.themegallery.com
นิยามของสวันเต เอากุสต์ อาร์เรเนียส กรดเป็นสารอิเล็กโทรไลต์ที่ละลายน้ำแล้วแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออนหรือโปรตอน (H+) และเบสเป็นสารอิเล็กโทรไลต์ที่ละลายน้ำแล้วแตกตัวให้โฮดรอกไซด์ไอออน (OH-) ข้อจำกัด ของอาร์เรเนียส คือสารที่เป็นกรดหรือเบสจะต้องละลายในน้ำเท่านั้น ถ้าไม่ละลายในน้ำหรือละลายในตัวทำละลายอื่นจะไม่จัดว่าเป็นกรดหรือเบส และไม่สามารถอธิบายโมเลกุลที่ไม่มี H+หรือ OH-ได้ Mahidol Wittayanusorn School 6 www.themegallery.com
เมื่อกรดและเบสตามนิยามของอาร์เรเนียสทำปฏิกิริยากันเกิดปฏิกิริยาสะเทินได้ผลผลิตเป็นเกลือและน้ำ โดยที่เกลือที่เกิดขึ้นคือสารประกอบไอออนที่ประกอบด้วยไอออนบวกและไอออนลบซึ่งไม่ใช่ H+และ OH- HCl(aq) + NaOH(aq) NaCl(aq) + H2O(l) กรด เบส เกลือ น้ำ Mahidol Wittayanusorn School 7 www.themegallery.com
จากนิยามของอาร์เรเนียสจงจำแนกสารใดว่าเป็นกรด เบสหรือเกลือ และหากเป็นเกลือเกิดจากกรดและเบสใด HCN = …………………………………………… H2SO4 = …………………………………………. HNO3 = ………………………………………….. Ca(OH)2 = ………………………………………… CH3COONH4 = …………………………………………… KBr = …………………………………………… HF = …………………………………………… ZnI2 = …………………………………………… Li2SO4 = …………………………………………… CH3COOH = …………………………………………… Ca(NO3)2 = …………………………………………… NaHSO4 = …………………………………………… Mahidol Wittayanusorn School 8 www.themegallery.com
นิยามของ โยฮันเนส นิโคเลาส์ เบรินสเตด และ ทอมัส มาร์ติน ลาวลี กรด คือสารที่ให้โปรตอน เบส คือสารที่รับโปรตอน Mahidol Wittayanusorn School 9 www.themegallery.com
คู่กรด-เบส Mahidol Wittayanusorn School 10 www.themegallery.com
คู่กรด-เบส • OH-ว่าเป็นคู่เบสของ H2O • H2O ว่าเป็นคู่กรดของ OH- • NH4+ว่าเป็นคู่กรดของ NH3 • NH3เป็นคู่เบส NH4+ Mahidol Wittayanusorn School 11 www.themegallery.com
ANS. Mahidol Wittayanusorn School 12 www.themegallery.com
คู่กรด-เบส จงเขียนคู่เบสของ H2S HCN และ OH- จงเขียนคู่กรดของ C5H5N CO32-และ Br- หากโมเลกุลดังกล่าวไม่มีโปรตรอนจะรู้ได้อย่างไรว่าเป็นกรดหรือเบส? Mahidol Wittayanusorn School 13 www.themegallery.com
นิยามลิวอิส กรดลิวอิสคือสารที่รับคู่อิเล็กตรอน และเบสลิวอิสคือสารที่ให้คู่อิเล็กตรอน Mahidol Wittayanusorn School 14 www.themegallery.com
Mahidol Wittayanusorn School 15 www.themegallery.com
จากนิยามของลิวอิสจงจำแนกกรดเบสต่อไปนี้จากนิยามของลิวอิสจงจำแนกกรดเบสต่อไปนี้ AlCl3= …………………………………………… I-= …………………………………………… Zn2+= …………………………………………… Zn2+ + 4NH3 Zn(NH3)42+ …… …… BF3 + F- BF4- ....... ....... Mahidol Wittayanusorn School 16 www.themegallery.com
การแตกตัวของกรดและเบสการแตกตัวของกรดและเบส • สารละลายกรดและเบสเป็นสารละลายอิเล็กโทรไลต์ • กรดหรือเบสที่เป็นอิเล็กโทรไลต์แก่เรียกว่า กรดแก่หรือเบสแก่ • กรดหรือเบสที่เป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อนเรียกว่ากรดอ่อนเบสอ่อน Mahidol Wittayanusorn School 17 www.themegallery.com
วิธีการพิจารณากรดและเบสวิธีการพิจารณากรดและเบส • เปรียบเทียบจากร้อยละการแตกตัวเป็นไอออนในตัวทำละลายชนิดเดียวกัน • เปรียบเทียบจากโครงสร้างโมเลกุลของกรดและเบส • ค่าคงที่ Ka, Kb Mahidol Wittayanusorn School 18 www.themegallery.com
การแตกตัวของกรดแก่และเบสแก่ กรดแก่และเบสแก่เป็นสารอิเล็กโทรไลต์แก่ที่สามารถแตกตัวเป็นไอออนได้มากหรือแตกตัวเป็นไอออนได้อย่างสมบูรณ์ 100% Mahidol Wittayanusorn School 19 www.themegallery.com
ความแรงของคู่กรดเบส Mahidol Wittayanusorn School 20 www.themegallery.com
การคำนวณการแตกตัว Mahidol Wittayanusorn School 21 www.themegallery.com
การแตกตัวของเบส Ca(OH)2เข้มข้น 0.1 mol/dm3ปริมาตร 100 cm3จะมี OH-กี่โมลถ้าเติมน้ำให้มีปริมาตรเป็น 400 cm3ความเข้มข้นของ OH-จะเป็นเท่าใด Mahidol Wittayanusorn School 22 www.themegallery.com
การแตกตัวของกรดอ่อนและเบสอ่อนการแตกตัวของกรดอ่อนและเบสอ่อน เป็นสารอิเล็กโทรไลต์แบบอ่อน แตกตัวจะเป็นแบบผันกลับได้ HA(aq) + H2O(l) H3O+(aq) + A-(aq) จำนวนโมลของกรดที่แตกตัว จำนวนโมลของกรดทั้งหมด ร้อยละการแตกตัวของกรด = X 100 Mahidol Wittayanusorn School 23 www.themegallery.com
สารละลายกรด HB เข้มข้น 0.2 mol/dm3แตกตัวได้เพียง 0.05 mol/dm3จงคำนวณหาปริมาณการแตกตัวเป็นร้อยละ Mahidol Wittayanusorn School 24 www.themegallery.com
การเปรียบเทียบความแรงของกรดอ่อนการเปรียบเทียบความแรงของกรดอ่อน ร้อยละการแตกตัว • ร้อยละการแตกตัวมาก กรดที่แรง • ร้อยละการแตกตัวน้อย กรดที่อ่อน Mahidol Wittayanusorn School 25 www.themegallery.com
จากเปอร์เซ็นต์การแตกตัวของกรดเหล่านี้ จงเรียงลำดับความแรงของกรดทั้งสามชนิด HSO4-(aq) + H2O(l) SO42-(aq) + H3O+(aq) แตกตัวเป็นไอออน 29% HNO2(aq) + H2O(l) NO2-(aq) + H3O+(aq) แตกตัวเป็นไอออน 6.5% CH3COOH(aq) + H2O(l) CH3COO-(aq) + H3O+(aq) แตกตัวเป็นไอออน 1.3% Mahidol Wittayanusorn School 26 www.themegallery.com
ความแรงของกรดกับโครงสร้างโมเลกุลความแรงของกรดกับโครงสร้างโมเลกุล สูตรทั่วไป HX เปรียบเทียบจากโครงสร้างโมเลกุล กรดไฮโดร Mahidol Wittayanusorn School 27 www.themegallery.com
กรดออกซี คือ กรดที่มีสูตทั่วไป OmE(OH)n • กรดออกซีที่มีอะตอมกลางต่างกัน แต่เป็นธาตุในหมู่เดียวกันและมีเลขออกซิเดชันเท่ากัน • ความเป็นกรดเพิ่มขึ้นตามค่าอิเล็กโทรเนกาตีวิตีของอะตอมกลาง Mahidol Wittayanusorn School 28 www.themegallery.com
กรดออกซีที่มีอะตอมกลางเหมือนกันแต่มีกลุ่มข้างเคียงต่างกัน ความแรงของความเป็นกรดขึ้นอยู่กับเลขออกซิเดชั้น Mahidol Wittayanusorn School 29 www.themegallery.com
จงวาดรูปโครงสร้างโมเลกุลของกรดต่อไปนี้ HIO4, HBrO4, HClO4 และเปรียบเทียบว่ากรดชนิดใดแรงกว่ากัน Mahidol Wittayanusorn School 30 www.themegallery.com
จงวาดโครงสร้างของกรด H3PO4, H2SO4และ HClO4 พร้อมเรียงลำดับความแรงของกรดพร้อมอธิบายเหตุผล Mahidol Wittayanusorn School 31 www.themegallery.com
ความแรงของกรดแก่ที่แตกตัวร้อยเปอร์เซ็นต์ความแรงของกรดแก่ที่แตกตัวร้อยเปอร์เซ็นต์ กรดแก่แตกตัวได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ในน้ำเราจึงไม่สามารถเปรียบเทียบความ เป็นกรดของกรดแก่ได้เมื่อใช้น้ำเป็นตัวทำละลาย เปลี่ยนตัวทำละลาย • ปรากฏการณ์ที่ตัวทำละลายไม่สามารถบอกความแตกต่างของความแรงของกรดได้เรียกว่า ปรากฏการณ์การปรับระดับ (leveling effect) • ตัวทำละลายตัวนั้นจะเรียกว่าตัวทำละลายที่ให้ปรากฏการณ์การปรับระดับ (leveling solvent) Mahidol Wittayanusorn School 32 www.themegallery.com
HClO4 + H2O H3O+ + ClO4- HNO3 + H2O H3O++ NO3- กรดใดแก่กว่ากันเมื่ออยู่ในน้ำ………………… Leveling solvent คือ……………………. Leveling solvent ทำหน้าที่เป็น กรด หรือ เบส Differentiating solvent คือ สารที่ทำหน้าที่แบ่งแยกความแตกต่าง ระหว่างความแรงของกรดหรือเบสได้ Mahidol Wittayanusorn School 33 www.themegallery.com
Mahidol Wittayanusorn School 34 www.themegallery.com
จงบอกวิธีการที่สามารถเปรียบเทียบความแรงของกรดต่อไปนี้ HClO4, HCl, HNO3, H2SO4และกรดต่อไปนี้กรดได้เป็นกรดที่แรงกว่ากันเมื่อใช้วิธีดังกล่าว Mahidol Wittayanusorn School 35 www.themegallery.com
ค่าคงที่การแตกตัว HA(aq) + H2O(l) H3O+(aq) + A-(aq) ในสารละลายมีน้ำอยู่ปริมาณมากเมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณของตัวละลาย จึงถือว่าความเข้มข้นของน้ำคงที่ จัดเป็นรูปใหม่จะได้ Mahidol Wittayanusorn School 36 www.themegallery.com
POLYPROTIC ACIDS การแตกตัวของกรดบางชนิดแตกตัวได้หลายครั้งจึงมีค่า Ka ได้หลายค่าเช่น Phosphoric acid (H3PO4) ซึ่งมีค่าการแตกตัวสามค่า • ค่า Ka ซึ่งจะบอกความสามารถของการแตกตัวของกรด • ค่า Kaมากแสดงว่าเป็นกรดแก่ • ค่า Kaน้อยแสดงว่าเป็นกรดอ่อน Mahidol Wittayanusorn School 37 www.themegallery.com
สารละลายกรด CH3COOH, HF, HClO และ HNO2 ความเข้มข้นเท่ากันและมีค่า Kaตามลำดับดังนี้ 1.75 x 10-5,6.94 x 10-4, 2.81 x 10-8และ5.98 x 10-4 จงเรียงลำดับจากค่า Kaมากไปน้อย …………………………………………………… กรดชนิดใดมีความเป็นกรดสูงให้เรียงลำดับจากมากไปน้อย…………………………… เรียงลำดับความเป็นเบสจากมากไปน้อย………………………………………………… Mahidol Wittayanusorn School 38 www.themegallery.com
ประเภทของกรด • Monoprotic acid เช่น HCl, HBr, CH3COOH เป็นต้น • Diprotic acid เช่น H2SO4, H2CO3เป็นต้น • Triprotic acid ตัวอย่างเช่น H3PO4 Mahidol Wittayanusorn School 39 www.themegallery.com
หากพิจารณาความเป็นกรดเบสจากการแตกตัวตามคู่กรดเบสตามนิยามหากพิจารณาความเป็นกรดเบสจากการแตกตัวตามคู่กรดเบสตามนิยาม ของเบรินสเตดและลาวลีระหว่าง HA กับ H2O ซึ่งเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้ HA + H2O H3O+ + A- Mahidol Wittayanusorn School 40 www.themegallery.com
กำหนดค่า Kaของปฏิกิริยากรดเบสต่อไปนี้ HF + H2O H3O+ + F- Ka = 6.7 10-4 HCN + H2O H3O+ + CN-Ka = 4.0 10-10 CH3COOH + H2O H3O+ + CH3COO- Ka = 1.8 10-5 จงเปรียบเทียบลำดับความแรงของกรดและความแรงของคู่เบสของกรดนั้น Mahidol Wittayanusorn School 41 www.themegallery.com
ค่าคงที่สมดุลของเบส BOH(aq) B+(aq) + OH-(aq) แบ่งประเภทตามจำนวน OH- • เบสที่มี OH-หมู่เดี่ยว ได้แก่ NaOH, LiOH, NH4OH เป็นต้น • เบสที่มี OH-สองหมู่ ได้แก่ Ca(OH)2, Mg(OH)2 เป็นต้น • เบสที่มี OH-สามหมู่ ได้แก่ Al(OH)3, Fe(OH)3 เป็นต้น Mahidol Wittayanusorn School www.themegallery.com
สารแอมโฟเทอริก สารที่ทำหน้าที่ได้ทั้งกรดและเบส H3O+ H2O OH- NH4+ NH3 NH2- S2- HS‑ H2S Mahidol Wittayanusorn School 43 www.themegallery.com
การคำนวณการแตกตัวของกรด-เบส (Kaและ Kb) ตัวอย่างเช่นมีกรด HA H+ + A- ความเข้มข้น N mol/L HA H+ + A- Initial (I) : N - - Change (C): X X X Equilibrium (E): N-X X X เราเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้ Ca/Ka > 1000หรือ ร้อยละการแตกตัวน้อยกว่า 5สามารถตัด Xได้ จะได้ Mahidol Wittayanusorn School 44 www.themegallery.com
กรดโมโนโปรติกชนิดหนึ่งแตกตัวได้ 3.4% สารละลายกรดนี้เข้มข้น 1 mol/dm3 จะมีความเข้มข้นของ H+เท่าไร Mahidol Wittayanusorn School 45 www.themegallery.com
กรดแอซิติก (CH3COOH) แตกตัวได้ 1.3% ที่อุณหภูมิปกติ สารละลายกรดเข้มข้น 0.1 mol/dm3จะแตกตัวให้ไฮโดรเนียมไอออนและแอซิเตไอออนกี่ mol/dm3และมีจำนวนโมลของกรดแอซิติกที่ไม่แตกตัวอยู่ในสารละลายกี่โมล แตกตัวให้ H+และ CH3COO- = 1.3 x 10-3 mol มีจำนวน CH3COOH ที่ไม่แตกตัว = 9.9 x 10-2mol Mahidol Wittayanusorn School 46 www.themegallery.com
กรดฟอร์มิก (HCOOH) เข้มข้น 0.6 mol/dm3แตกตัวได้ 1.8% จงคำนวณหาความเข้มข้นของแต่ละสารที่ภาวะสมดุล แตกตัวให้ H+และ HCOO- = 0.011mol/dm3 มีจำนวน HCOOH ที่ไม่แตกตัว = 0.59 mol/dm3 Mahidol Wittayanusorn School 47 www.themegallery.com
จงคำนวณหาความเข้มข้นของ H3O+ของสารละลายกรดแอซิติกที่มีความเข้มข้น 0.5 mol/dm3กำหนดให้ค่า Kaของกรดแอซิติกเท่ากับ 1.8 10-5 mol/dm3 แตกตัวให้ H3O+ = 3.0 10-3 mol/dm3 Mahidol Wittayanusorn School 48 www.themegallery.com
กรด HA เข้มข้น 0.01 mol/dm3แตกตัวได้ร้อยละ 2 ค่าคงที่สมดุลของกรดนี้มีค่าเท่าใด Ka = 4.0 10-6 Mahidol Wittayanusorn School 49 www.themegallery.com
สารละลายแอมโมเนียที่มีความเข้มข้น 0.02 mol/dm3มีความเข้มข้นของ OH-เท่าใด กำหนด Kbของ NH3เท่ากับ 1.8 10-5 OH- = 6.0 10-4 mol/dm3 Mahidol Wittayanusorn School 50 www.themegallery.com