1 / 25

บทเรียนการจัดการเตรียมพร้อมรับมือการระบาดในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง

บทเรียนการจัดการเตรียมพร้อมรับมือการระบาดในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง. บงกช เชี่ยวชาญยนต์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๒ จังหวัดสงขลา. กรอบการนำเสนอ. การวิเคราะห์บริบทของการเตรียมความพร้อม กิจกรรม สรุปผลการถอดบทเรียน ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ. การวิเคราะห์บริบทของการเตรียมความพร้อม.

Download Presentation

บทเรียนการจัดการเตรียมพร้อมรับมือการระบาดในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทเรียนการจัดการเตรียมพร้อมรับมือการระบาดในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างบทเรียนการจัดการเตรียมพร้อมรับมือการระบาดในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง บงกช เชี่ยวชาญยนต์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๒ จังหวัดสงขลา

  2. กรอบการนำเสนอ • การวิเคราะห์บริบทของการเตรียมความพร้อม • กิจกรรม • สรุปผลการถอดบทเรียน • ปัญหาอุปสรรค • ข้อเสนอแนะ

  3. การวิเคราะห์บริบทของการเตรียมความพร้อมการวิเคราะห์บริบทของการเตรียมความพร้อม • มีรายงานการระบาดของ MERs Co V ในประเทศแถบตะวันออกกลาง • เกี่ยวข้องกับพื้นที่รับผิดชอบ 7 จังหวัด ชายแดนใต้หรือเปล่า ???

  4. ข้อมูลผู้เดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ ปี 2556 ร้อยละ 75.52 อยู่ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง

  5. ชาวไทยมุสลิมในพื้นที่ 7 จังหวัดชายแดนภาคใต้เดินทางไปแสวงบุญทุกปี และเป็นกลุ่มใหญ่ (ร้อยละ 75.52) ของประเทศ • ผู้แสวงบุญมีทั้งผู้ที่มีสุขภาพดี ผู้สูงอายุ ผู้มีปัญหาสุขภาพและโรคประจำตัว • ไปอยู่ที่ประเทศซาอุดิอาระเบีย ประมาณ 45 วัน • ที่ผ่านมาผู้แสวงบุญที่เดินทางกลับมามีอาการป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจมากกว่า ร้อยละ 70

  6. ที่ผ่านมาการติดตามภาวะสุขภาพผู้แสวงบุญหลังจาก เดินทางกลับไม่ครอบคลุม ประมาณร้อยละ 30) • ผลการสำรวจความพร้อมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข พบว่า ส่วนใหญ่ ยังไม่มีความพร้อมสำหรับการเตรียมรับโรคติดต่ออุบัติใหม่

  7. การเตรียมพร้อมของ Mr.HATT

  8. กิจกรรมที่เพิ่มเติม • จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข กรณีโรคติดเชื้อไวรัส โคโรน่า สายพันธุ์ใหม่ 2012 กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบล/อำเภอ/จังหวัด ในพื้นที่ 7 จังหวัดที่รับผิดชอบดูแลสุขภาพผู้เดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์

  9. กิจกรรมที่เพิ่มเติม(ต่อ)กิจกรรมที่เพิ่มเติม(ต่อ) • นำเสนอข้อมูลแก่ ผู้บริหารระดับเขต ในการประชุม คปสข.เขต • จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพทีมสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ในการเฝ้าระวังและสอบสวนผู้ติดเชื้อเชื้อไวรัส โคโรน่า สายพันธุ์ใหม่ 2012 ระดับอำเภอและระดับจังหวัด เพื่อซักซ้อมความเข้าใจ

  10. การตรวจจับผู้ป่วยสงสัย/เสียชีวิตการตรวจจับผู้ป่วยสงสัย/เสียชีวิต การรับมือการระบาด และ แจ้งเตือนเครือข่าย การรายงาน การสอบสวนโรค ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ป่วยยืนยัน การถ่ายทอดเชื้อจากคนสู่คน กิจกรรมในการเฝ้าระวัง

  11. แบบรายงาน • แบบ SARI_AI1 สำหรับรายงานโรค • แบบ SARI_AI2 สำหรับสอบสวนโรค • แบบส่งตัวอย่างเพื่อการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ

  12. กิจกรรมที่เพิ่มเติม • ประสานศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์จังหวัดสงขลา และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์จังหวัดตรัง ในการตรวจทางห้องปฏิบัติการหาเชื้อไวรัสโคโรน่า และประสานการรายงานผลอย่างรวดเร็ว

  13. การเตรียมความพร้อมด้าน Logistics

  14. กิจกรรมที่เพิ่มเติม(ต่อ)กิจกรรมที่เพิ่มเติม(ต่อ) • จัดทำสื่อสองภาษา • ให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการ(แซะ) ครอบครัวผู้แสวงบุญ อสม. • ประชุมเตรียมความพร้อมทีม ณ ท่าอากาศยานนานาชาติหาดใหญ่และนราธิวาส ทั้งขาออกและขาเข้า

  15. กิจกรรมที่เพิ่มเติม(ต่อ)กิจกรรมที่เพิ่มเติม(ต่อ) • จัดทำขั้นตอนการรายงานข้อมูลการเฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยที่ตรวจคัดกรองอาการผิดปกติ ณ ท่าอากาศยานที่จะส่งต่อไปยังงานระบาดวิทยา ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

  16. ผลการดำเนินงาน ผลการเฝ้าระวังสุขภาพโดยการคัดกรองกลุ่มอาการทางเดินหายใจ ณ ท่าอากาศยานหาดใหญ่และนราธิวาส • ผู้โดยสาร 2,311 คน คัดกรองได้ 251 ราย (ร้อยละ 10.86) • พบผู้ป่วยสงสัยโคโรน่าไวรัสฯ 4 ราย (ร้อยละ 0.17) ผลการตรวจยืนยันเป็นลบ

  17. ผลการเฝ้าระวังตามระบบระบาดวิทยา • รับรายงานจำนวน 193 ราย ส่งตัวอย่าง 170 ราย (ร้อยละ 88.0) • พบเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ 16 ราย (ร้อยละ 9.41) • จากการวิเคราะห์ของสำนักระบาดวิทยา พบ ผู้ป่วยที่เข้าข่ายตามนิยามเฝ้าระวังโรคโคโรน่าไวรัสจำนวน 20 ราย

  18. ข้อสังเกต • แบบฟอร์ม SARI_1 ไม่ตรงกับหัวข้อใน Key online • ความเข้าใจเรื่องนิยามโรคไม่ตรงกัน • ความเข้าใจเรื่องการส่งแบบรายงานโรคไม่ตรงกัน • วิธีการเก็บตัวอย่างมีหลายกระแส • การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการมีข้อผิดพลาด • การติดตามผู้เดินทางที่บ้านดีขึ้น (อสม.ช่วยได้มาก) • การเฝ้าระวังผู้เดินทางที่สนามบิน ร้อยละ 30.0 (2,311/7,854 คน)

  19. ข้อสังเกต • จังหวัดที่มีผู้เดินทางน้อยเช่น พัทลุง จะจัดระบบบริการให้เป็น One stop service คือ ให้บริการจุดเดียว ตรวจสอบได้ง่าย • การตรวจสุขภาพ บางแห่งทำหลายหน่วยงานซ้ำซ้อนกัน ทำให้ผู้เดินทางรู้สึกรำคาญู • ผู้บริหารระดับต่างๆ ให้ความสำคัญ • การให้ข้อมูลเรื่องการรักษายังไม่ชัดเจน ส่วนใหญ่เข้าใจว่า ยา Oseltamivirรักษา Coronavirusได้

  20. ข้อสังเกต • ห้องแยกและอุปกรณ์ยังไม่พร้อมในหลาย สถานพยาบาล • กลุ่มอาการป่วยของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า หลากหลายไม่เหมือนไข้หวัดใหญ่ทั่วไป อาจทำให้เกิดช่องว่างในการตรวจจับโรค

  21. ระบบการรักษาพยาบาลเข้มแข็งหรือยังระบบการรักษาพยาบาลเข้มแข็งหรือยัง นักท่องเที่ยวจากทั่วโลกเดินทางมาไทย เราทำได้ดีจริงเปล่า?? คนไทยไปประกอบพิธีทางศาสนาที่ประเทศซาอุดิอาระเบียตลอดทั้งปี กลุ่มอาการป่วยของ MERS CoV ค่อนข้างหลากหลาย ระบบการเฝ้าระวังครอบคลุมเพียงพอหรือยัง???? ข้อมูลการเข้าสู่บริการการแพทย์ของชาวต่างชาติ???? ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจะมีความเสี่ยงสูงที่จะติดเชื้อ ตำแหน่งของ การเก็บตัวอย่างให้ได้คุณภาพ

  22. ขอขอบคุณ • คณะผู้บริหารเขต ๑๒ • ศูนย์บริหารงานสาธารณสุขชายแดนใต้ (ศบ.สต) • หน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับในพื้นที่ • ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์สงขลา และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ตรัง • สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข • กรมควบคุมโรค (สำนักโรคติดต่อทั่วไป สำนักระบาดวิทยา สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ สำนักสื่อสารฯ ) • หน่วยงานแพทย์ กอ.รมน

More Related