1 / 16

พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา

พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา. กรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 2209 ) วาดโดยบริษัทดัตช์ตะวันออก. http :// th . wikipedia . org. แผนที่อาณาจักรอยุธยาประมาณ พ.ศ. 1953 (สีม่วงเข้ม. http :// th . wikipedia . org. พระพุทธศาสนาในสมัยอยุธยา.

Download Presentation

พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พระพุทธศาสนาสมัยอยุธยาพระพุทธศาสนาสมัยอยุธยา กรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 2209) วาดโดยบริษัทดัตช์ตะวันออก http://th.wikipedia.org

  2. แผนที่อาณาจักรอยุธยาประมาณ พ.ศ. 1953 (สีม่วงเข้ม http://th.wikipedia.org

  3. พระพุทธศาสนาในสมัยอยุธยาพระพุทธศาสนาในสมัยอยุธยา • ลักษณะโดยรวมของพุทธศาสนาในสมัยอยุธยามีลักษณะคือ โดยมากมุ่งแต่การบุญการกุศล บำรุงพระสงฆ์ สร้างวัดวาอาราม ปูชนียสถาน ปูชนียวัตถุ พิธีกรรม งานฉลองนมัสการ เช่น ไหว้พระธาตุและพระบาท เป็นต้น การบำเพ็ญจิตภาวนาก็เน้นไปทางความศักดิ์สิทธิ์อิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์เสียเป็นส่วนใหญ่ มีเรื่องไสยศาสตร์ อาถรรพณ์เข้ามาปะปนเป็นอันมาก การพระพุทธศาสนาในสมัยอยุธยานั้นเมื่อว่า

  4. โบราณสถานทางพุทธศาสนาที่สำคัญโบราณสถานทางพุทธศาสนาที่สำคัญ • วัดพุทไธสวรรค์ (พ.ศ. 1896) http://th.wikipedia.org

  5. บทบาทของวัดพุทไธสวรรค์บทบาทของวัดพุทไธสวรรค์ • วัดนี้สร้าง ณ ตำบลเวียงเหล็ก สมโจพระรามาธิบดีที่ ๑ ทรงสร้าง เพื่อเป็นอนุสรณ์ที่ย้ายมาสร้างอยุธยา เป้นวัดที่ใช้ฝึกฝนวิชาการทหาร “พิชัยสงคราม” เป็นที่ประทับของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ สมเจพระสังฆราชฝ่ายขวา ซึ่งเป็นคณะสงฆ์ดั้งเดิม

  6. วัดใหญ่ชัยมงคล (พ.ศ. ๑๙๐๐) หรือคณะวัดป่าแก้ว เน้นวิปัสสนาธุระ สร้างให้พระสงฆ์ที่กลับมาจากไปศึกษา ณ ประเทศศรีลังกา มีสมเด็จพระวันรัตน์ ประทับที่วัดนี้ เป้ฯสังฆราชฝ่ายซ้าย

  7. พระพุทธศาสนาสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ๑๙๙๑-๒๐๓๑ • ทรงถวายวังให้เป็นวัด คือวัดพระศรีสรรเพชญ์ ต่อมาพระราชโอรสได้สร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่ ห่อหุ้มด้วยทองคำหนัก ๒๒,๘๘๐ บาท • ทรงหล่อรูปพระโพธิสัตว์ ๕๐๐ ชาติ • เมื่อปี พ.ศ. ๑๙๖๗ เกิดคณะสงฆ์วัดป่าแก้ว ซึ่งเป็นพระสงฆ์ไทยเคยไปเรียนที่ศรีลังกา ทำให้มีการบาดหมางกับคณะสงฆ์เดิม • ทรงผนวช ณ วัดจุฬามณี ที่ทรงให้สร้างขึ้นเสร็จเมื่อปี พ.ศ. ๒๐๐๘ ผนวชเมื่อครองราชย์ได้ ๑๗ ปี มีข้าราชบริพารบวชตามจำนวน ๒,๓๘๘ รูป

  8. http://wiki.moohin.com

  9. วัดพรศรีสรรเพชรญ์ ภาพจาก http://wiki.moohin.com

  10. กำหนดให้มีประเพณีการบวชของเจ้านาย ข้าราชการผนวชเรียนระยะหนึ่ง • พ.ศ.๒๐๕๓ เกิดวรรณคดีทางพุทธศาสนา คือ มหาชาติคำหลวง วรรณกรรมทางพุทธศาสนาเล่มแรกในสมัยอยุธยา เกิดประเพณีที่ผู้มีฐานะสร้างวัดจนมีคำกล่าวว่า “บ้านเมืองดี เขาสร้างวัดให้ลูกเล่น”

  11. เกิดการเปลี่ยนแลงพุทธศิลป์ตามแบบขอมเป็นแบบสุโขทัย การสร้างปรางค์แบบศิลปกรรมสมัยลพบุรีซึ่งเป็นอิทธิพลจากขอม ได้เสื่อมลงได้มีเจดีย์รางระฆังคว่ำแบบลังกาเขามาแทนที่ • เปลี่ยนแปลงศิลปในการสร้างพุทธรูปตามอิทธิพลขอมมาเป็นแบบสุโขทัย เช่นพระพุทธรูปยืน คือพระศรีสรรเพชญ์หุ้มด้วยทองคำหนัก 286 ชั่ง (ประมาณ 171 กิโลกรัม) ถวายพระนามว่า "พระศรีสรรเพชญ ดาญาณ" ซึ่งภายหลังเมื่อเสียกรุง พ.ศ.2310 พม่าได้เผา ลอกทองคำไปหมด และองค์พระพังยับเยิน 

  12. นิยมบวชเรียน จนเกิดช่องว่างให้คนปลอมบวช จนพระองค์ทรงมีรับสั่งให้ออกหลวงสรศักดิ์ เป็นแม่กองประชุมสงฆ์สอบความรู้พระภิกษุสามเณร เพื่อตรวจสอบผู้ที่เข้ามาบวชแล้วไม่สนใจศึกษาพระปริยัติธรรม มีการให้ลาสิขา(สึก)สำหรับผู้หลบหนีมาบวชแล้วไม่มีความรู้ทางพระพุทธศาสนา

  13. พระเจ้าหลุยส์ได้ทรงส่งเอกอัครราชทูตมาเจริญพระราชไมตรีและให้ทูลเชิญสมเด็จพระนารายณ์เข้ารีตด้วย ใน พ.ศ. ๒๒๒๘ สมเด็จพระนารายณ์ทรงผ่อนผันด้วยพระปรีชาญาณว่า “หากพระผู้เป็นเจ้าพอพระทัยให้พระองค์เข้ารีตเมื่อใด ก็จะบันดาลศรัทธาให้เกิดขึ้นในพระทัยของพระองค์เมื่อนั้น”

  14. พระพุทธศาสนาในรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศพระพุทธศาสนาในรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ • ในรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (พ.ศ.๒๒๗๕–๒๓๐๑) การบวชเรียนกลายเป็นประเพณีถึงกับว่า ผู้ที่จะเป็นขุนนางมียศบรรดาศักดิ์ต้องเป็นผู้ได้รับการอุปสมบทมาเรียบร้อยเสียก่อน เจ้านายในพระราชวงศ์ทุกพระองค์ก็เหมือนกัน แสดงว่าผลจากการฝึกอบรมตามหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนาทำให้คนเป็นคนที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น เมื่อบวชแล้วจึงเป็น บัณฑิต แปลว่า ผู้รู้ ครั้นลาสิกขาสึกออกมาจึงกลายเป็น ทิด ซึ่งกร่อนมาจากบัณฑิตนั่นเอง

  15. พระพุทธศาสนาเถรวาทแบบสยามวงศ์ เกิดความสัมพันธ์ทางพุทธศาสนาระหว่างอยุธยาและลังกา พุทธศาสนาในลังถูกพิษการเมือง เหลือสามเณรสรณังกรรูปเดียว เข้ามายังอยุธยาสมัยพระเจ้าบรมโกษฐ์ (พ.ศ.๒๒๙๔) เพื่อให้อยุธยาส่งพระธรรมฑูดไปช่วยฟื้นฟูพุทธศานาในลังกา อยุธยาได้ส่งพระอุบาลีและคณะประมาณ ๑๖ รูป ไปยังลังกา สถาปนาสยามวงศ์ที่นั่น

More Related