610 likes | 806 Views
แผนที่ผลลัพธ์. เครื่องมือที่จะช่วยให้เราติดตามโครงการได้ดีขึ้น. แผนที่ผลลัพธ์ ที่มา. ศูนย์วิจัยการพัฒนาระหว่างประเทศ International Development Research Center. การพัฒนาที่ยั่งยืน. 1. เปลี่ยนพฤติกรรมคนในพื้นที่ 2. ให้คนในพื้นที่เป็นเจ้าของ. สุขภาพ. พฤติกรรม. สภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม.
E N D
แผนที่ผลลัพธ์ เครื่องมือที่จะช่วยให้เราติดตามโครงการได้ดีขึ้น
แผนที่ผลลัพธ์ที่มา ศูนย์วิจัยการพัฒนาระหว่างประเทศ International Development Research Center
การพัฒนาที่ยั่งยืน 1. เปลี่ยนพฤติกรรมคนในพื้นที่ 2. ให้คนในพื้นที่เป็นเจ้าของ
สุขภาพ พฤติกรรม สภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม การใดๆ “การใดๆ ที่มุ่งกระทำเพื่อสร้างเสริมให้บุคคลมีสุขภาวะทางร่างกาย จิต และสังคม โดยสนับสนุนพฤติกรรมของบุคคล สภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม ที่จะนำไปสู่การมีร่างกายที่แข็งแรง สภาพจิตที่สมบูรณ์ อายุยืนยาว และคุณภาพชีวิตที่ดี”
สุขภาพ พฤติกรรม สภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม การใดๆ
แผนที่ผลลัพธ์ เครื่องมือที่จะช่วยให้เราติดตามโครงการได้ดีขึ้น เพราะมีการตั้งวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน (และมีระบบการติดตามประเมินผลที่ดี)
ผลผลิต ผลลัพธ์ผลกระทบ Input Process Output Outcome Impact ผลลัพธ์- จำนวนผู้มาขอรับบริการที่อดบุหรี่ได้ ผลกระทบ- จำนวนคนสูบบุหรี่ในชุมชนลดลง
แผนที่ผลลัพธ์ วัตถุประสงค์ของโครงการคือ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับกลุ่มเป้าหมาย ผลลัพธ์คือ การเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย
วัตถุประสงค์ของโครงการโดยทั่วไป • เพื่อโครงการ • เพื่อกลุ่มเป้าหมาย • สองอย่างรวมกัน
แผนที่ผลลัพธ์ วัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อ กลุ่มเป้าหมาย เขียนแสดงถึงการเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย และควรเขียนเป็นพฤติกรรมที่สังเกตได้จึงจะมีความชัดเจนจริง
แผนที่ผลลัพธ์ เครื่องมือที่จะช่วยให้เราติดตามโครงการได้ดีขึ้น ถ้าเราช่วยกันปรับวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน
รูปแบบ 1. วิสัยทัศน์ 2. พันธกิจ 3. ภาคีหุ้นส่วน 4. ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ 5. เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า 6. แผนที่ยุทธศาสตร์ 7. การดำเนินงานองค์กร 8. การจัดลำดับความสำคัญของการติดตามผล 9. บันทึกผลลัพธ์ 10.บันทึกยุทธศาสตร์ 11.บันทึกการดำเนินงาน 12.วางแผนการประเมินผล
โครงการทันตสุขภาพนักเรียนโรงเรียนจินตนาการ โรงเรียนของเราเป็นโรงเรียนระดับประถม โครงการมีเป้าหมายที่จะให้นักเรียนมีทันตสุขภาพดี ดำเนินการโดยใช้โรงเรียนเป็นพื้นที่ตั้ง โดยมีครูเป็นหลักในการดูแลทันตสุขภาพนักเรียน เมื่อพบปัญหาเกี่ยวกับฟัน ครูจะจัดการให้มีการพานักเรียนไปพบเจ้าหน้าที่ฯที่โรงพยาบาล
1. วิสัยทัศน์ โรงเรียนของเราครูเอาใจใส่ดูแลทันตสุขภาพนักเรียน นักเรียนของเราจึงมีทันตสุขภาพดี คือฟันผุน้อยกว่านักเรียนโรงเรียนอื่นในพื้นที่เดียวกันอย่างชัดเจน
1. วิสัยทัศน์ โรงเรียนของเราครูเอาใจใส่ดูแลทันตสุขภาพนักเรียน นักเรียนของเราจึงมีทันตสุขภาพดี คือฟันผุน้อยกว่านักเรียนโรงเรียนอื่นในพื้นที่เดียวกันอย่างชัดเจน (หากโครงการนี้ทำได้สำเร็จสมบูรณ์ตามความตั้งใจจะเห็นภาพอย่างนี้)
2. พันธกิจ ครูเอาใจใส่ดูแลทันตสุขภาพของนักเรียน
2. พันธกิจ ครูเอาใจใส่ดูแลทันตสุขภาพของนักเรียน ครูเป็นภาคีหุ้นส่วน Boundary partner นักเรียนเป็นผู้รับประโยชน์ Beneficiary
ครู โครงการ นักเรียน
3. ภาคีหุ้นส่วน - ครู - (นักเรียน) - (ผู้บริหารโรงเรียน) - (ผู้ปกครอง) - (เจ้าหน้าที่ฯ)
3. ภาคีหุ้นส่วน - ครู - ภาคีหุ้นส่วน (B) - (นักเรียน) - B of B และผู้รับประโยชน์ - (ผู้บริหารฯ) - ส่วนหนึ่งของทีมงาน - (ผู้ปกครอง) - B of B - (เจ้าหน้าที่ฯ) - ภาคีพันธมิตร
ขั้นตอนที่ 1 สร้างวิสัยทัศน์ ขั้นตอนที่ 2 กำหนดพันธกิจ ขั้นตอนที่ 3 ระบุภาคีหุ้นส่วน
ภาคีหุ้นส่วน (Boundary partners) คือ บุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์กร (กลุ่มเป้าหมาย) ที่โครงการดำเนินการด้วยโดยตรง และมีเจตนาที่จะเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์กรเหล่านั้น
ขั้นตอนที่ 1 สร้างวิสัยทัศน์ ขั้นตอนที่ 2 กำหนดพันธกิจ ขั้นตอนที่ 3 ระบุภาคีหุ้นส่วน ขั้นตอนที่ 4 ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์
ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนพฤติกรรม (ความสัมพันธ์ กิจกรรม การกระทำ) ของบุคคล กลุ่มบุคคล องค์กร หรือชุมชน (ที่เป็นภาคีหุ้นส่วน)
4. ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ ครูเอาใจใส่ดูแลทันตสุขภาพของนักเรียน โดยดูแลให้นักเรียนแปรงฟันอย่างน้อยวันละสองครั้ง ตรวจฟันนักเรียนปีละสองครั้ง หากพบว่านักเรียนมีปัญหาเกี่ยวกับฟัน ก็จัดการให้มีการพานักเรียนไปพบเจ้าหน้าที่ฯที่โรงพยาบาล และสอนนักเรียน และผู้ปกครองเกี่ยวกับอาหารที่มีผลต่อทันตสุขภาพ
ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ (Outcome challenge) วัตประสงค์ที่เขียนเป็นพฤติกรรมของภาคีหุ้นส่วน
ขั้นตอนที่ 1 สร้างวิสัยทัศน์ ขั้นตอนที่ 2 กำหนดพันธกิจ ขั้นตอนที่ 3 ระบุภาคีหุ้นส่วน ขั้นตอนที่ 4 ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ ขั้นตอนที่ 5 เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า
เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า (Progress markers) คือ การเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเป็นขั้นตอนจากง่ายไปยาก พฤติกรรมตามผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ พฤติกรรมก่อนถึงผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ ที่ไม่ง่ายนัก พฤติกรรมก่อนถึงผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ ที่ง่ายๆ หน่อย
5. เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า แสดงให้เห็นการเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเป็นขั้นตอน
5. เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า แสดงให้เห็นการเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเป็นขั้นตอน พฤติกรรมตามผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ พฤติกรรมก่อนถึงผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ ที่ไม่ง่ายนัก พฤติกรรมก่อนถึงผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ ที่ง่ายๆ หน่อย
4. ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ ครูเอาใจใส่ดูแลทันตสุขภาพของนักเรียน โดย(1)ดูแลให้นักเรียนแปรงฟันอย่างน้อยวันละสองครั้ง (2)ตรวจฟันนักเรียนปีละสองครั้ง (3)หากพบว่านักเรียนมีปัญหาเกี่ยวกับฟัน ก็จัดการให้มีการพานักเรียนไปพบเจ้าหน้าที่ฯที่โรงพยาบาล และ (4)สอนนักเรียน และผู้ปกครองเกี่ยวกับอาหารที่มีผลต่อทันตสุขภาพ
5. เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า ระดับที่คาดว่าจะเกิดขึ้น (ง่ายๆหน่อย-ให้ความร่วมมือ) • ครูเข้ารับการฝึกอบรม • ครูจัดสถานที่แปรงฟันสำหรับนักเรียน • ครูจัดนิทรรศการ • ครูจัดประชุมผู้ปกครองและครู
5. เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า ระดับที่อยากจะให้เกิดขึ้น(ที่ไม่ง่ายนัก-ริเริ่มเอง) • ครูสอนนักเรียนเรื่องประโยชน์ของการแปรงฟัน • ครูอบรมนักเรียนแกนนำให้เก็บข้อมูลการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันของนักเรียน • ครูสอนผู้ปกครองเรื่องทันตสุขภาพกับอาหาร และปรึกษาเรื่องการเก็บข้อมูลการแปรงฟันหลังอาหารเย็น • ครูปรึกษาเจ้าหน้าที่ฯเรื่องการตรวจฟันนักเรียน และการพานักเรียนมาตรวจเมื่อมีปัญหา
5. เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า ระดับที่เกิดขึ้นได้ก็ดี(ระดับที่พึงประสงค์หรือสูงกว่า) 1. ครูส่งรายงานการตรวจฟันนักเรียนสองครั้ง 2. ครูส่งรายงานการแปรงฟันของนักเรียน 3. ครูพานักเรียนที่มีปัญหาเรื่องฟันมาพบเจ้าหน้าที่ฯ
ขั้นตอนที่ 6 แผนยุทธศาสตร์
สำหรับโครงการขนาดเล็กสำหรับโครงการขนาดเล็ก การใช้แผนที่ผลลัพธ์ถึงจุดนี้น่าจะเพียงพอ 1.วิสัยทัศน์ 2. พันธกิจ 3. ภาคีหุ้นส่วน 4. ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ 5. เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า 6. แผนที่ยุทธศาสตร์ 1.วิสัยทัศน์ 2. พันธกิจ 3. ภาคีหุ้นส่วน 4. ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ 5. เกณฑ์บ่งชี้ความก้าวหน้า 6. แผนที่ยุทธศาสตร์
ขั้นตอนที่ 7 การดำเนินงานระดับองค์กร (Organizational practice)
1. ค้นหา สำรวจความคิด โอกาส และทรัพยากรใหม่ๆ 2. ฟังเสียงสะท้อนจากผู้ให้ข้อมูล หรือผู้รายงานที่สำคัญ 3. หาการสนับสนุนจากผู้มีอำนาจสูงสุด 4. ทบทวนระบบ ผลลัพธ์ และการดำเนินงานอยู่เสมอ 5. ตรวจสอบกิจกรรมต่างๆที่ทำอยู่เพื่อเพิ่มคุณค่า 6. แลกเปลี่ยนความรู้ที่ได้กับโลกภายนอก 7. ทดลองสิ่งใหม่ๆอยู่เป็นประจำ 8. มีเวลาให้กับการสะท้อนความเห็นในการทำงานขององค์กรอย่างสม่ำเสมอ
ขั้นตอนที่ 8 จัดลำดับความสำคัญของการติดตามผล
การติดตามผลแบบเบาๆ • ประชุมทีมงานสม่ำเสมอ เช่น ทุก 2-3 เดือน • คุยกันเรื่อง • การบรรลุผลลัพธ์ของภาคีหุ้นส่วน • ยุทธศาสตร์ของโครงการ • การดำเนินงานของโครงการ
ขั้นตอนที่ 9 แบบบันทึกผลลัพธ์ ขั้นตอนที่ 10 แบบบันทึกยุทธศาสตร์ ขั้นตอนที่ 11 แบบบันทึกการดำเนินงาน
ขั้นตอนที่ 12 แผนการประเมินผล