1.69k likes | 2.57k Views
การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ แบบ บูรณา การปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. โดย นายไพฑูรย์ นัน ตะสุคนธ์ สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ. สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. ทางสายกลาง. แนวทางการดำรงอยู่ การปฏิบัติตน ในทุกระดับ. แนวคิด. ครอบครัว ชุมชน รัฐ - ในการพัฒนา บริหารประเทศ.
E N D
การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นายไพฑูรย์ นันตะสุคนธ์ สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ
สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง แนวทางการดำรงอยู่ การปฏิบัติตน ในทุกระดับ แนวคิด ครอบครัว ชุมชน รัฐ - ในการพัฒนา บริหารประเทศ พอประมาณ หลักการ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี คุณธรรม ความรู้ เงื่อนไข ความรู้ในตัวคน ในหลักวิชา รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริต อดทนเพียร มีสติ ปัญญา สร้างสมดุล/มั่นคง/เป็นธรรม/ยั่งยืน พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดล้อม/วัฒนธรรม เป้า ประสงค์ 2
แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและไม่ประมาท โดยคำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผนการตัดสินใจและการกระทำ 11/09/57 N. PAITOON
มีหลักพิจารณาอยู่ด้วยกัน 5 ส่วน ดังนี้ 1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤต เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา 11/09/57 N. PAITOON
2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติตนบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน 3. คำนิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พร้อม ๆ กันดังนี้ 11/09/57 N. PAITOON
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิต และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยเกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ N. PAITOON
การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีการมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล N. PAITOON
4. เงื่อนไขการตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกันเพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต มีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต ไม่โลภ และไม่ตระหนี่ N. PAITOON
5. แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม 11/09/57 N. PAITOON
จะทำการผลิตหรือบริโภค ตั้งอยู่บนความพอดีมีต้นทุนอะไรบ้าง ต้องตัดสินใจอย่างมีเหตุผล + + หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้านทั้งเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ ไม่เจ็บ ไม่จน
การจัดการศึกษาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงดำเนินการได้ 2 ส่วน การบริหารสถานศึกษาในด้านต่าง ๆ การจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งประกอบด้วย - การสอดแทรกสาระเศรษฐกิจพอเพียงใน หลักสูตรและสาระเรียนรู้ในห้องเรียน - การประยุกต์หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการจัด กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนอกห้องเรียน 11/09/57 N. PAITOON
องค์ประกอบการประเมินสถานศึกษาองค์ประกอบการประเมินสถานศึกษา ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา (20 คะแนน) • นโยบายการขับเคลื่อน วิชาการ อาคารสถานที่ งบประมาณ และความสัมพันธ์กับชุมชน ด้านหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน (20 คะแนน) • การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สื่อและแหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้เรียนมีความรู้และปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการวัดและประเมินผล N. PAITOON
ด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (20 คะแนน) • การแนะแนวระบบดูแล กิจกรรมลูกเสือ วิชาทหาร โครงงาน สิ่งประดิษฐ์ ชุมนุม ชุมชน องค์กร และการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญา ด้านพัฒนาบุคลากร (20 คะแนน) • การสร้างความตระหนัก การส่งเสริมให้มีการพัฒนา การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต การติดตามประเมินผลการพัฒนา และการเผยแพร่แนวคิดและผลการดำเนินการ ด้านผลลัพธ์และความสำเร็จ (20 คะแนน) • สถานศึกษาพอเพียง ผู้บริหารพอเพียง ครูพอเพียง บุคลากรพอเพียง และนักเรียนพอเพียง N. PAITOON
แผนการดำเนินงานหลัก 4 ประการ สร้างความรู้ความเข้าใจ นำสู่การปฏิบัติ ประสานความร่วมมือเชื่อมโยงเครือข่าย การติดตามประเมินผล N. PAITOON
แล้วเราจะเริ่มทำอะไรก่อน - หลัง • พัฒนาบุคลากร ครูและบุคลากรในสถานศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • จัดกลุ่มภาระงานตามองค์ประกอบการประเมิน 2.1 ด้านบริหารจัดการสถานศึกษา 2.2 ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน 2.3 ด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 2.4 ด้านพัฒนาบุคลากร 2.5 ด้านผลลัพธ์และความสำเร็จ N. PAITOON
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ความรู้ คุณธรรม นำภาระงานมาบูรณาการกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม N. PAITOON
ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน • ระดับ ปวช.1 บูรณาการเนื้อหาเศรษฐกิจพอเพียงในภาควิชากลุ่มสังคม ระดับ ปวส.1 สอนวิชาเศรษฐกิจพอเพียงในภาคเรียนที่ 1 • ทั้งระดับปวช. 1 และปวส. 1 บูรณาการเนื้อหาความรู้เศรษฐกิจพอเพียงในรายวิชาตามกลุ่มวิชาสังคม • ที่สำคัญทุกรายวิชา หน่วยการเรียนที่จะบูรณาการ ควรให้ความรู้ หรือจัดทำเป็นใบความรู้ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง ให้ผู้เรียนทราบก่อนการปฏิบัติทุกครั้ง N. PAITOON
ตัวอย่าง ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนเกณฑ์การให้คะแนน พิจารณาจาก P D C A • บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง P มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการ D มีการดำเนินการตามแผน C มีการติดตามประเมินรายงานผล A มีการนำผลไปใช้ในการพัฒนา N. PAITOON
การจัดการกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการจัดการกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง P มีแนวทางให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมีผลงาน D มีการดำเนินการตามแนวทาง C มีการติดตามประเมินผล A มีการนำผลไปใช้ในการพัฒนา N. PAITOON
ด้านสื่อและแหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้านสื่อและแหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง P มีแนวทางการใช้ผลิตเผยแพร่สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ D มีการดำเนินการใช้สื่อตามแนวทาง C มีการติดตามประเมินผล A นำผลมาพัฒนาการใช้ผลิต เผยแพร่สื่อ/แหล่งการ เรียนรู้ N. PAITOON
ด้านผู้เรียนมีความรู้และปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้านผู้เรียนมีความรู้และปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง P ผู้เรียนในแต่ละสาขาร้อยละ 50 มีความรู้ความเข้าใจ D ผู้เรียนในแต่ละสาขาร้อยละ 25 มีส่วนร่วมในการ เผยแพร่ในสถานศึกษา C ผู้เรียนในแต่ละสาขาร้อยละ 25 สามารถเผยแพร่สู่ ครอบครัว/ชุมชน/องค์กร/หน่วยงาน A ผู้เรียนในแต่ละสาขาร้อยละ 25 ได้นำไปใช้ใน ชีวิตประจำวัน N. PAITOON
ด้านการวัดประเมินผล P มีเครื่องมือ/วิธีการวัดประเมินผล D มีการนำเครื่องมือไปใช้ขับเคลื่อน C มีการติดตามประเมินผล A มีการนำผลไปใช้ในการพัฒนา N. PAITOON
แนวความคิดการบูรณาการแนวความคิดการบูรณาการ เลือกหน่วย การเรียนรู้ จากรายวิชาอย่างน้อย 1 หน่วย เศรษฐกิจ บูรณาการปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม 11/09/57 N. PAITOON
ขั้นตอนการจัดทำหน่วยการเรียนแบบบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขั้นตอนการจัดทำหน่วยการเรียนแบบบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • เริ่มจากการกำหนดหน่วยการเรียน • วิเคราะห์เนื้อหาหรือกิจกรรมที่สามารถสอดแทรกแนวบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ • กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวมในส่วนที่เป็นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเข้าไปด้วย • จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการที่เกี่ยวข้อง • กำหนดเครื่องมือวิธีการวัด และเกณฑ์การประเมิน N. PAITOON
การจัดทำหน่วยการเรียนรู้บูรณาการปรัชญาของการจัดทำหน่วยการเรียนรู้บูรณาการปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ไม่เคร่งครัดในเรื่องรูปแบบสามารถ ปรับใช้ได้ตามธรรมชาติของแต่ละวิชา ระดับชั้น และบริบทของสถานศึกษา แต่ให้คงหัวข้อสำคัญไว้ ได้แก่ สาระสำคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ และการวัดประเมินผล (ข้อควรจำ) N. PAITOON
“ครู” หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพ ซึ่งทำหน้าที่หลักทางด้าน การเรียนการสอน และการส่งเสริมการเรียนรู้ ของผู้เรียน ด้วยวิธีการต่าง ๆ ในสถานศึกษา ทั้งของรัฐและเอกชน N. PAITOON
ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและ จรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2548หมวด 2 มาตรฐานการปฏิบัติงาน ของผู้ประกอบวิชาชีพครู 1. ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนา วิชาชีพครูอยู่เสมอ2. ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ โดยคำนึงถึงผลที่ จะเกิดแก่ผู้เรียน N. PAITOON
3. มุ่งพัฒนาผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ4. พัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏิบัติได้เกิดผลจริง5. พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ6. จัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเน้นผลถาวรที่ เกิดแก่ผู้เรียน7. รายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนได้อย่างมีระบบ N. PAITOON
8. ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน 9. ร่วมมือกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์10. ร่วมมือกับผู้อื่นในชุมชนอย่างสร้างสรรค์11. แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา12. สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ทุกสถานการณ์ N. PAITOON
ต้องรู้อะไร ? ก่อนทำแผนการจัดการเรียนรู้ 1. รู้เนื้อหาวิชาที่จะสอนอย่างชัดเจน - หลักสูตร (จุดประสงค์รายวิชา, เนื้อหา, เวลา) - ความสัมพันธ์กับรายวิชาอื่น - ประสบการณ์เดิมของผู้สอนและผู้เรียน - เอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชา N. PAITOON
2. รู้กระบวนการเรียนรู้ของคน - วิธีสอน - สื่อและอุปกรณ์การสอน 3. เครื่องมือ / อุปกรณ์ / สิ่งอำนวยความสะดวกอื่น - สื่อและเครื่องมือต่าง ๆ - เอกสารประกอบการค้นคว้า / อ้างอิง N. PAITOON
ประโยชน์ต่อผู้สอน 1. ได้ศึกษาและวิเคราะห์รายวิชา 2.ได้กำหนดจุดประสงค์การสอนแต่ละหน่วย 3. ได้กำหนดเวลาและวิธีสอนที่เหมาะสม 4.ได้เลือกกิจกรรมและสื่อการสอนต่าง ๆ 5.ได้เลือกวิธีวัดและประเมินผลตรงตาม จุดประสงค์การสอน N. PAITOON
6. เป็นเครื่องมือเพื่อสร้างความเชื่อมั่นแก่ครูผู้สอน 7. สร้างความศรัทธาแก่ผู้เรียน 8. เป็นเครื่องยืนยันและหลักฐานอ้างอิง N. PAITOON
ลักษณะของแผนการจัดการเรียนรู้ลักษณะของแผนการจัดการเรียนรู้ 1. แผนการสอนอย่างหยาบ หรือ การจัดทำโครงการสอน (Course Outline) เป็นแบบ Macro Plan 2. แผนการสอนย่อย จัดเป็นแบบ Micro Plan นิยมยึดถือ เนื้อหาวิชามากกว่าคาบการสอนโดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น หน่วย ๆ เรียกว่า แผนการจัดการเรียนรู้แบบหน่วย มีความละเอียด ครู - อาจารย์อื่นสอนแทนได้ มีเอกสารสอนในแผนนั้นอย่างครบถ้วน N. PAITOON
แผนการจัดการเรียนรู้หมายถึงแผนการจัดการเรียนรู้หมายถึง รายละเอียดของกิจกรรมต่าง ๆ ที่ครูผู้สอนกำหนดขึ้นอย่างเป็นระบบและเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ล่วงหน้า เพื่อนำไปจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้บรรลุผลตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ N. PAITOON
ส่วนประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ส่วนประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ 1. ส่วนประกอบตอนต้น ประกอบด้วย ปก คำนำ สารบัญ ลักษะรายวิชา สมรรถนะรายวิชา การวิเคราะห์หลักสูตรและกำหนดการสอน 2. ส่วนที่เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย ชื่อเรื่อง สาระสำคัญ สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและแหล่งการเรียนรู้ หลักฐานการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผล 3. ส่วนประกอบตอนท้าย ประกอบด้วย สื่อ ใบช่วยสอน แบบฝึก แบบทดสอบ เครื่องมือประเมิน และบันทึกผลหลังการเรียนรู้ N. PAITOON
องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ 1. รายวิชา 7. สาระการเรียนรู้ 2. ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 8. กิจกรรมการเรียนรู้ 3. ชื่อเรื่อง 9. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 4. สาระสำคัญ 10. หลักฐานการเรียนรู้ 5. สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้ 11. การวัดประเมินผล 6. จุดประสงค์การเรียนรู้ 12. บันทึกผลหลังการเรียนรู้ N. PAITOON
หัวข้อปฏิบัติในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ . วิเคราะห์หลักสูตร . กำหนดสมรรถนะ . กำหนดการสอน . กำหนดชื่อเรื่อง • สาระสำคัญ • สมรรถนะประจำหน่วย 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 4. สาระการเรียนรู้ 5. กิจกรรมการเรียนรู้ 6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 7. หลักฐานการเรียนรู้ 8. การวัดและประเมินผล N. PAITOON
การวิเคราะห์หลักสูตร เป็นการแยกแยะหลักสูตรให้เห็นองค์ประกอบย่อย โดยมุ่งหวังให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาวิชาและพฤติกรรม ซึ่งเป็นจุดหมายปลายทางของแต่ละรายวิชา รวมถึงการกำหนดสัดส่วนน้ำหนักความสำคัญของเนื้อหา และพฤติกรรมพึงประสงค์ การวิเคราะห์หลักสูตรลักษณะนี้จะออกมาในรูปของตารางที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาและพฤติกรรมที่จะวัด เรียกว่า ตารางวิเคราะห์หลักสูตร หรือตารางกำหนดรายละเอียดของวิชา (Table of Specifications) N. PAITOON
ประโยชน์ของการวิเคราะห์หลักสูตรประโยชน์ของการวิเคราะห์หลักสูตร 1) ทำให้ทราบว่าจะสอนอะไร สอบอะไร อย่างละเท่าไร 2) เป็นเครื่องชี้ทางในการกำหนดพฤติกรรมแก่ผู้เรียน 3) เป็นเครื่องมือในการเลือกกิจกรรมและวิธีการจัดการ เรียนรู้ 4) ช่วยให้ผู้สอนบริหารเวลาในการสอนและการสอบได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 5) ช่วยให้ข้อสอบมีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา 6) ช่วยให้การเรียนการสอนมีคุณภาพและมาตรฐานยิ่งขึ้น N. PAITOON
ขั้นตอนการวิเคราะห์หลักสูตรขั้นตอนการวิเคราะห์หลักสูตร 1) การวิเคราะห์จุดประสงค์ เป็นการแปลจุดประสงค์รายวิชา เป็นพฤติกรรมที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียนเมื่อเรียนวิชานั้น ๆ จบลงแล้ว 2) การวิเคราะห์เนื้อหา เป็นการนำเอาเนื้อหาวิชาจากหลักสูตรมา แบ่งออกเป็นหน่วยย่อย ๆ ในลักษณะหน่วยการเรียน 3) การสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร เป็นตารางการหาสัดส่วน ความสำคัญ และแสดงความสัมพันธ์ของพฤติกรรมกับเนื้อหา N. PAITOON
ลักษณะรายวิชา รหัสและวิชา.................................................................................................... หน่วยกิต (ชั่วโมง)........................... เวลาเรียนต่อภาค.......................... ชั่วโมง ปรับหน่วยการเรียนเป็นสมรรถนะ จุดประสงค์รายวิชา....... มาตรฐานรายวิชา.......... คำอธิบายรายวิชา.......... N. PAITOON
1) การวิเคราะห์จุดประสงค์ เป็นการแปลจุดประสงค์รายวิชา ออกเป็นพฤติกรรมที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียน เมื่อเรียนจบรายวิชานั้น ๆ แล้ว แต่ละวิชาอาจมีจุดประสงค์แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับธรรมชาติของแต่ละวิชา พฤติกรรม + เงื่อนไขหรือสถานการณ์หรือเนื้อหาวิชา 1 2 - เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ N. PAITOON
จุดประสงค์ของการศึกษาBenjamin S. Bloomได้จำแนกจุดประสงค์ ดังนี้ 1. Cognitive Domain พุทธิพิสัย 2. Phychomotor Domain ทักษะพิสัย 3. Affective Domain จิตพิสัย N. PAITOON
ขอบเขตของจุดประสงค์ • 1. พุทธิพิสัย มีลำดับขั้นการเรียนรู้ • 6 การประเมินค่า • 5 การสังเคราะห์ • 4 การวิเคราะห์ • 3 การนำไปใช้ • 2 ความเข้าใจ • 1 ความรู้ความจำ N. PAITOON
ระดับ ความรู้ ความเข้าใจ การนำไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม บรรยาย ชี้แจ้ง เขียน บอก เลือก ชี้บ่ง จัด จำแนก ระบุ ค้นหา วิธีปฏิบัติ เรียบเรียง แปลง แปล เปลี่ยน อธิบาย ขยายความ เขียนใหม่ สรุป เลือก เปลี่ยนวิธีการ คำนวณ ปรับปรุง ใช้ เขียนแผนงาน แก้ปัญหา ผลิต แต่ง จำแนก ชี้บ่ง เปรียบเทียบ จัดประเภท ระบุ หาความสัมพันธ์ เขียนแผนผัง วางแผน กำหนดขอบข่าย ประเมิน พิจารณา ตัดสิน เปรียบเทียบกับมาตรฐาน เปรียบเทียบกับเกณฑ์ จุดประสงค์ทั่วไป รู้ศัพท์ รู้ข้อเท็จจริง รู้กฏเกณฑ์ รู้ลำดับขั้น รู้ความสำคัญ รู้วิธีการ เข้าใจข้อเท็จจริง ตีความหามาย คาดการณ์ที่เกิดขึ้น แก้ปัญหา คำนวณ ตรวจสอบ ประมาณการ พิจารณา เลือก วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมิน ตัวอย่างคำกริยา พุทธิพิสัย N. PAITOON
สูง • 6 การประเมินค่า • 5 การสังเคราะห์ • 4 การวิเคราะห์ • 3 การนำไปใช้ • 2 ความเข้าใจ • 1 ความรู้ความจำ ด้านความสามารถ / ทักษะทางปัญญา ด้านความรู้ ต่ำ N. PAITOON
2. ทักษะพิสัย มีลำดับขั้นการเรียนรู้ • 5 ทักษะการทำจนเคยชิน • 4 ทักษะการกระทำอย่างต่อเนื่อง • 3 ทักษะที่มีความถูกต้องตามแบบ • 2 ทักษะการทำตามแบบ • 1 ทักษะการเลียนแบบ N. PAITOON
3. จิตพิสัย มีลำดับขั้นการเรียนรู้ • 5 การสร้างลักษณะพิสัย • 4 การจัดระบบ • 3 การสร้างคุณค่า • 2 การตอบสนอง • 1 การเรียนรู้ N. PAITOON
1.................. 2.................. 3.................. 4.................. 5.................. 6.................. พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย............มีทุกวิชา จิตพิสัย.................มีทุกวิชา N. PAITOON