190 likes | 431 Views
ผลการเยี่ยม สะท้อนผล เครือข่ายบริการปฐมภูมิ อำเภอศรีบุญเรือง หนองบัวลำภู. สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน มิถุนายน 2557. หลักการ ค่านิยม ของ PCA. โครงข่ายการบริการที่มีชีวิต มีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ การรู้จักทุน ใช้ทุน อย่างเหมาะสม แนวคิด มุมมอง Human focus and community focus
E N D
ผลการเยี่ยม สะท้อนผล เครือข่ายบริการปฐมภูมิ อำเภอศรีบุญเรือง หนองบัวลำภู สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน มิถุนายน 2557
หลักการ ค่านิยม ของ PCA โครงข่ายการบริการที่มีชีวิต มีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ การรู้จักทุน ใช้ทุน อย่างเหมาะสม แนวคิด มุมมอง Human focus and community focus การทำงานเป็นระบบ การใช้ข้อมูล การทำงานบนฐานเพิ่มคุณค่า และผลลัพธ์ ความยืดหยุ่น
สถานการณ์ชุมชน - ทุน - ปัญหา(ช่องว่าง) - บริการที่มี / ได้รับ ชุมชน สิ่งแวดล้อม ทรัพยากร ครอบครัว คน เครือข่ายชุมชน ภูมิปัญญา การจัดการ Context เสริมการพึ่งพาตนเองแก่ชุมชน บริการ: ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู -Core Value -Criteria องค์กร รัฐ-ภาคี หน่วยบริการ ปฐมภูมิ อำเภอ – รพ. บริการร่วม และ สนับสนุน
บริบทพื้นที่ ศรีบุญเรือง ประชากร 117,855 คน คลินิก 20 แห่ง เศรษฐกิจค่อนข้างดี พื้นที่บางแห่งห่างไกล พื้นฐานความผูกพันกับวัฒนธรรม เศรษฐกิจชุมชน ครบวงจร เรื่องข้าวยา ประชากรส่วนใหญ่ ทำไร่อ้อย ทำนา และสวนยางพาราบางส่วน การเปลี่ยนแปลงในชุมชน เป็นเมืองมากขึ้น อาชีพ ความเป็นอยู่ของครอบครัว เปลี่ยน ปัญหาพื้นที่โรคเรื้อรัง มะเร็งท่อน้ำดี ยุงลาย NF แต่ละตำบลมีปัญหาต่างกัน มีทุนศักยภาพของชุมชน ท้องถิ่น มีมูลนิธิเพื่อเด็กพิการ ชมรมผู้พิการ ผู้สูงอายุ ทีมเครือข่าย อสม. เข้มแข็ง
บริบท ทุน ภายในเครือข่าย รพ. 90 เตียง 18 รพ.สต ทุนภายใน เครือข่าย รพ. และรพ.สต ในแง่กำลังคน ความมุ่งมั่น การพัฒนาด้วย core value ในการพัฒนาคุณภาพ การวิเคราะห์ปัญหา ลักษณะปัญหาตามอายุ ตามพื้นที่ มีการวางแผนยุทธศาสตร์ และจัดระบบงาน เป็นสาย road map วิเคราะห์ปัญหาร่วมกับชุมชน มีการร่วมมือกับภาคส่วนอื่น รณรงค์ตลาดสีเขียว การใส่ใจดูแลสุขภาพ
แนวคิด หลักการทำงานของเครือข่าย แนวคิด RBM และการมี PMในแต่ละ line มีการติดตามตัวชี้วัด คำนึงถึงปัญหาชุมชน ใส่ใจความยากลำบากของประชาชน ตั้งใจทำงานที่รับผิดชอบให้ดีที่สุด แนวความคิดของผู้นำในด้านบริการ ให้ทั่วถึง การทำงานให้เป็นระบบ สนใจในการพัฒนาอสม. และพัฒนาให้มีการสร้างสุขภาพ ดูแลตนเอง สร้างความรักผูกพันต่อองค์กรและชุมชนบ้านเกิด การทำงานร่วมกันเป็นทีม ความพยายามพัฒนางานไปพร้อมๆ กัน เป็นแผง เหมือนๆ กัน
การจัดการของเครือข่าย การจัดการโครงสร้างบริหารงานร่วมกัน มีสำนักงาน CUP มีแผนยุทธศาสตร์ มีการวางระบบงบประมาณร่วมกัน มีการจัดการผู้จัดการ ตามโปรแกรมงานแต่ละงาน ร่วมกันทั้งสองฝ่าย การพัฒนาคน ด้วยเวชศาสตร์ครอบครัว และร่วมมองปัญหาชุมชน มีทีม สหวิชาชีพ เข้าร่วมสนับสนุนการพัฒนาบริการปฐมภูมิ การจัดระบบสนับสนุน เพื่อให้มีบริการเข้าถึงสะดวก คืนข้อมูลให้ท้องถิ่น SRM ให้เข้ามาสนับสนุน มีศูนย์เตือนภัย มีการนำปัญหาเฉพาะเช่น NF มาทำเป็นแนวปฏิบัติ และพัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ การจัดเครือข่ายบริการ เลขา PCT มีข้อมูลนำเสนอผลด้านบริการ แต่ไม่มีผลด้านชุมชน และผลลัพธ์ในเชิงการจัดการ หรือ การจัดระบบสนับสนุนเป็นอย่างไร ใช้ความเป็นพี่น้อง ทำงานบริหารร่วมกัน เรื่อง รักบ้านเกิด เก้าสิบกว่าเปอร์เซ็นต์เป็นคนศรีบุญเรือง เกิดที่นี่ หรือ เป็นเขย สะใภ้ที่นี่ ทำให้ตั้งใจมาทำร่วมกัน ไม่อยากเดินคนเดียว แต่เดินร่วมกันเป็นเครือข่ายอำเภอ ข้อสังเกต ของทีม คือ การเชื่อมต่อระหว่างการวิเคราะห์บริบท ทุน กับการจัดบริการ การสนับสนุน ที่พอดี สอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของพื้นที่ หรือไม่ มีการติดตาม ประเมินผล อย่างเป็นระบบ ?? อย่างไร ความทั่วถึง บูรณาการ ของงานแต่ละโปรแกรม ที่ลงสู่หน่วยบริการปฐมภูมิ
การรู้จักทุน จัดการทุน บริการ ให้สอดคล้องกับบริบท มีการริเริ่มกระบวนการที่ลงไปดูปัญหา ทุนของชุมชน และนำมาวิคราะห์เสนอข้อมูลให้แก่ชุมชน CUP ริเริ่มที่นำปัญหาที่สนใจของชุมชน เข้ามาสู่การแก้ไข หลายพื้นที่ ที่เจ้าหน้าที่ รับรู้เข้าใจทุน ศักยภาพของชุมชน รู้ปัญหาเฉพาะ ของชุมชน มีการเข้าร่วมรับรู้ แลกเปลี่ยน ในการจัดการกับปัญหาชุมชน แต่การเข้าไปมีบทบาทเชิงรุก หรือ หนุนเสริมอย่างมีประสิทธิผล อาจต้องทบทวน หาความเหมาะสม และเติมทักษะ ความรู้ เพื่อให้เข้าใจ สภาพอย่างลึกซึ้ง และกำหนดบทบาท สธ. ได้ดีขึ้น การชักชวน ค้นหาทุน ศักยภาพของภาคีเครือข่าย เข้ามาร่วมมือทำงาน มีบางเรื่อง บางเรื่องยังทำน้อย
คุณภาพของระบบบริการปฐมภูมิคุณภาพของระบบบริการปฐมภูมิ มีมุมมองให้ความสำคัญต่อด้านการจัดบริการที่สะดวก ตอบสนองความพอใจต่อประชาชน ใส่ใจความรู้สึกของประชาชน ชุมชน มีการจัดปรับวิธีบริการให้ยืดหยุ่น ประชาชนใช้บริการได้สะดวก เข้าถึงได้ เจ้าหน้าที่มีความเอาใจใส่ต่อผู้รับบริการ ด้านประสิทธิผล และความต่อเนื่องของบริการ บางด้าน ยังมีช่องว่าง การเสริมศักยภาพของประชาชนในการดูแลตนเอง ได้ ยังมีความหลากหลายน้อย และระบบรองรับไม่ชัด บทบาทต่อการเสริมศักยภาพขององค์กรชุมชน ยังเพิ่งเริ่มในบางพื้นที่ ไม่เป็นระบบเชิงรุก
กระบวนการสร้างคุณค่าของหน่วยบริการปฐมภูมิกระบวนการสร้างคุณค่าของหน่วยบริการปฐมภูมิ • การดูแลรายบุคคลและครอบครัว • การดูแลกลุ่มประชากร • การสร้างกระบวนการเรียนรู้กับองค์กรชุมชน
ตอนที่2:สร้างคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิตอนที่2:สร้างคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิ 2.1 บริการสุขภาพรายบุคคลและครอบครัว บริการรายบุคคลและครอบครัวที่มีปัญหาสุขภาพที่มาขอรับบริการที่สถานพยาบาล หรือ ที่บ้าน โดยเน้นให้เป็นบริการแบบองค์รวม ผสมผสาน ต่อเนื่อง โดยที่ผู้รับบริการจะได้รับการดูแลทั้งส่วนที่เป็นปัญหาสุขภาพ หรือโรคทั่วไป และได้รับการค้นหาปัญหาและแก้ไขแบบองค์รวม (Holistic Approach) ตลอดจนได้รับความรู้เพื่อสนับสนุนการสร้างสุขภาพ ป้องกันการเจ็บป่วยซ้ำ เป้าหมายที่ต้องการบรรลุ PCU มีการจัดระบบงาน & จัดกระบวนการดูแลที่ตอบสนองสอดคล้องปัญหาสุขภาพของผู้รับบริการ รายบุคคล & ครอบครัว ประชาชนมีส่วนร่วม & เสริมการดูแล การพึ่งตนเองของผูรับบริการ & ครอบครัว แนวคิด 1. ผู้ป่วยและครอบครัวเป็นศูนย์กลาง 2. การดูแลแบบองค์รวม ต่อเนื่อง 3. สร้างการมีส่วนร่วม เสริมสมรรถนะของผู้รับบริการ&ญาติในการดูแลสุขภาพ
คุณภาพของระบบโดยรวม 1: ระบบบริการเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการได้ง่าย อย่างเท่าเทียม (Accessibility) 2: มีบริการได้ครอบคลุมผู้ป่วยที่มีปัญหาเฉียบพลัน ฉุกเฉิน ปัญหาเรื้อรัง และการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค (Availability of care) 3: ระบบงาน และบุคลากรที่พร้อมให้บริการอย่างผสมผสาน เบ็ดเสร็จ เป็นองค์รวม เสริมการพึ่งตนเองของประชาชน (Comprehensive care) 4: จัดระบบที่ส่งเสริมให้ประชาชนมีศักยภาพในการดูแลตนเองได้เหมาะสม (Empowerment) 5: ระบบให้ดูแลผู้ป่วยหรือประชากรเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง (Continuity Care) 6: ประสาน และเชื่อมต่อการดูแล ทั้งภายในหน่วยบริการและกับหน่วยบริการอื่น (Coordination)
ข้อกำหนดรายละเอียดคุณภาพ: กระบวนการดูแลรายบุคคลและครอบครัว 1. Good relationship 2. Holistic care 3. Clinical competency 4. Continuity 5. People participation & empowerment 6. Co-ordination
ระบบสนับสนุน หน่วยบริการปฐมภูมิ มีความตั้งใจ สนับสนุนการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ ให้มีทรัพยากร พร้อมในการจัดบริการแก่ประชาชน ได้สะดวก คล่องตัว แนวการสนับสนุน เน้นที่ฐาน มาตรฐานวิชาชีพ ของโครงโรงพยาบาล การปรับให้พอดีกับบริบทปฐมภูมิ และชุมชน ยังเป็นประเด็นที่น่าจะลองทบทวน บางงานมีการปรับตัว การประสานสนับสนุน เป็นลักษณะลงมาเป็นช่องตามโปรแกรม แต่ละด้าน การเชื่อมร้อย เพื่อให้เกิดประสิทธิผล ประสิทธิภาพมากขึ้นยังเป็นประเด็นที่ควรทบทวน
การใช้ จัดการข้อมูล จัดการความรู้ มีฐานข้อมูลตามตัวชี้วัด มีเวทีแลกเปลี่ยนพูดคุย เป็นระยะ ข้อมูลติดตาม ด้านระบบสนับสนุน การจัดการระบบ และการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชน ยังไม่ชัดเจน การแปลผล วิเคราะห์ผล ควรเพิ่มขึ้น นำมาใช้ในการจัดบริการ และบริหารระบบสนับสนุน เพิ่มขึ้น
การพัฒนาบุคลากร สร้างแรงจูงใจ บุคลากรเป็นคนพื้นที่ มีประสบการณ์นาน มุ่งมั่น ตั้งใจ ต่อการทำงาน มีสัมพันธภาพ ที่ดีภายใน สร้างแรงจูงใจ หลายลักษณะ พัฒนาความรู้ ทักษะด้านเวชศาสตร์ครอบครัว ด้านชุมชน ด้านการทำแผล การจัดการปัญหาที่พบในพื้นที่ การหนุนเสริมความคิดริเริ่ม ปรับวิธีทำงานกับชุมชน ??
ผลลัพธ์บริการ และผลลัพธ์ด้านองค์กรเครือข่าย ผลด้านบริการตามตัวชี้วัด ไม่มีผลในด้านมุมมองของประชาชน ชุมชน ไม่มีผลด้านประสิทธิภาพ ไม่มีผลด้านการเรียนรู้ การจัดการภายในเครือข่าย
ประเด็นโอกาส พัฒนา การจัดระบบ check ติดตาม เรียนรู้ พัฒนาต่อเนื่อง การจัดระบบสนับสนุนบางส่วนให้พอดีตามความต้องการ ความพร้อม และปัญหาของแต่ละหน่วยบริการ การจัดการให้มีเชื่อมโยง ประสานบริการ