370 likes | 625 Views
การพัฒนานวัตกรรม ในการจัดการเรียนรู้. Dr. Kulthida Nugultham. ทักษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. ทักษะชีวิตและอาชีพ ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี. Programme for International Student Assessment (PISA). นวัตกรรมระดับชาติ. วงจรการเรียนรู้บนการแข่งขันหุ่นยนต์
E N D
การพัฒนานวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ Dr. KulthidaNugultham
ทักษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 • ทักษะชีวิตและอาชีพ • ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม • ทักษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี ProgrammeforInternationalStudentAssessment(PISA)
นวัตกรรมระดับชาติ • วงจรการเรียนรู้บนการแข่งขันหุ่นยนต์ • กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาทักษะชีวิต พี่เด่น น้องดี ชีวีสดใส • การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม • SONY Model • รายงานการวิจัยดินโคลนถล่ม • มหัศจรรย์ อ่านคิด สร้างชีวิตรักการอ่าน • การพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ห้องเรียนสายน้ำ
What do you think of Innovation ? New Workable Appropriate
ประเภทของนวัตกรรม การจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการใหม่ๆ เทคนิควิธีการจัดการเรียนการสอนแบบต่างๆ การพัฒนาสื่อใหม่ๆ เข้ามาใช้ในกระบวนการเรียนการสอน การใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาปรับระบบการเรียนการสอน วิธีการออกแบบหลักสูตรใหม่ การจัดการด้านการวัดและประเมินผล การสร้างเครือข่าย
ประเภทของนวัตกรรม • นวัตกรรมด้านหลักสูตร • นวัตกรรมด้านการเรียนการสอน • นวัตกรรมด้านสื่อการสอน • นวัตกรรมด้านการประเมินผล
นวัตกรรมด้านหลักสูตร • หลักสูตรบูรณาการ • หลักสูตรท้องถิ่น • หลักสูตรเพิ่มเติม
นวัตกรรมด้านการเรียนการสอนนวัตกรรมด้านการเรียนการสอน 1 การจัดการเรียนรู้แบบพัฒนากระบวนการคิดด้วยการใช้คำถามหมวกความคิด6ใบ 2 การจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการแก้ปัญหา 3 การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน 4 การจัดการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้ 5 การจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ 6 การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน 7 การจัดการเรียนรู้แบบประสบการณ์และเน้นการปฏิบัติ 8 การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสู่พหุปัญญา 9 การจัดการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้
นวัตกรรมด้านสื่อการสอนนวัตกรรมด้านสื่อการสอน • แบบฝึกหัด – แบบฝึกทักษะ • เอกสารประกอบการสอน อาจอยู่ในรูปหนังสือแบบเรียน หนังสือเสริมประสบการณ์ หนังสืออ่านนอกเวลา หนังสืออ่านประกอบ หนังสืออ้างอิง • บทเรียนแบบโปรแกรมหรือบทเรียนสำเร็จรูปเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างเป็นลำดับขั้น • ชุดการเรียนรู้ ประกอบด้วย คู่มือครู แบบฝึกหัด สื่อสำหรับกระบวนการเรียนรู้ และแบบประเมินผล • คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นการสอนรายบุคคลโดยผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยลักษณะการเรียนการสอนจะมีลำดับขั้นชัดเจน ได้แก่ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ขั้นการเสนอเนื้อหา ขั้นคำถามและคำตอบ ขั้นการตรวจคำตอบ และขั้นการปิดบทเรียน
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน • หนังสืออิเลคทรอนิคส์ • บทเรียนการ์ตูน • บทเรียนCD/VCD • หนังสือเล่มเล็ก • บทเรียนเครือข่าย • ชุดเรียนรู้ด้วยตนเอง • ชุดสื่อผสม • หนังสืออ่านเพิ่มเติม • ชุดการเรียนรู้ทางไกล • ชุดฝึกอบรม • ชุดครูช่วยสอน
ชุดเสริมความรู้/ประสบการณ์ • ชุดเสริมสร้างลักษณะนิสัย • คู่มือการทางานกลุ่ม • คู่มือการเรียนรู้ • คู่มือการพัฒนาตนเอง • ชุดสอนซ่อมเสริม • เกมส์/ บทละคร / บทเพลง • ชุดสื่อ VDO, CD, VCD • แบบเรียนเพิ่มเติม • แบบฝึกความพร้อม • แบบฝึกทักษะ
ตระกูล E E-learning E-media E-book E-………………. The"e" in eLearning would be better defined asEvolving or Everywhere or Enhanced or Extended
นวัตกรรมด้านการประเมินผล • เทคนิคการวัดประเมินหลังเรียน เช่น แบบทดสอบมาตรฐาน แบบทดสอบกลางภาค แบบทดสอบปลายภาค ซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบทดสอบตัวเลือก • เทคนิคการวัดประเมินระหว่างเรียน เช่น เทคนิคการใช้คำถามสั้น การเขียนอนุทิน • เทคนิคการประเมินตามสภาพจริงเป็นการประเมินอย่างหลากหลายโดยใช้วิธีการสังเกต สัมภาษณ์ สอบถาม ทดสอบ แฟ้มสะสมงาน
แหล่งการเรียนรู้นวัตกรรมแหล่งการเรียนรู้นวัตกรรม • Web site • http://www.thaiteachers.tv • http://www.thaicyberu.com • http://www.thaigifted.org • http://www.eteacherzone.com • http://www.moe.go.th/moe/th • หน่วยงานสนับสนุนและผลิตนวัตกรรมทางการเรียนการสอน • สถาบันพัฒนาการเรียนรู้ม.มหิดลhttp://www.il.mahidol.ac.th • สำนักนวัตกรรมการเรียนการสอน ม.ขอนแก่น • http://media.sut.ac.th/media/e-Courseware/
What else? Curriculum & Instruction Professional Development Hands-on Activity Tools Game PhET Extended laboratory Stem education PlayFACTO
กระบวนการการพัฒนานวัตกรรมกระบวนการการพัฒนานวัตกรรม วิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ศึกษาทฤษฎีที่ใช้สนับสนุน และเลือกนวัตกรรม วางแผนการออกแบบสร้างนวัตกรรม ทดลองใช้เพื่อหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม ดำเนินการสอนโดยนำนวัตกรรมไปใช้ ประเมินผลและปรับปรุงแก้ไขนวัตกรรม
การหาคุณภาพของเครื่องมือการหาคุณภาพของเครื่องมือ • การหาค่าประสิทธิภาพของนวัตกรรมการเรียนรู้ • IOC และเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 : 80/80
ปัญหาที่พบในการเรียนการสอนปัญหาที่พบในการเรียนการสอน • กรณีศึกษาที่ 1 การแก้โจทย์ปัญหาตรีโกณมิติ ครูสุมาลีสอนวิชาคณิตศาสตร์ชั้น ม. 3 เป็นเวลา 3 ปี พบว่าผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนส่วนใหญ่ต่ำ โดยเฉพาะ เรื่องโจทย์ ปัญหาตรีโกณมิติ นักเรียนส่วนใหญ่ไม่สามารถแก้โจทย์ปัญหาได้ จากการสังเกตนักเรียนในขณะที่ทำแบบฝึกหัดเรื่องนี้ ครูสุมาลี พบว่า มี นักเรียนจำนวนหนึ่งอ่านโจทย์ปัญหาแล้วไม่สามารถเขียนเป็นรูปที่โจทย์กำหนดให้ได้ บางคนเขียนรูปได้แต่ไม่ตรงกับที่โจทย์ กำหนดให้ และ บางคนสามารถเขียนรูปได้โดยดูจากตัวอย่างที่ครูสอนและในหนังสือ แต่ไม่สามารถคำนวณหาระยะทางที่โจทย์ ต้องการได้ ทั้งนี้ เพราะไม่รู้ความสัมพันธ์ของมุมและด้าน ไม่รู้ค่าของ Sine, Cos, Tan
การแก้ไข • ครูสุมาลีจึงคิดหาวิธีแก้ไข โดยเปลี่ยนวิธีสอนจากเดิมที่ใช้การอธิบายตัวอย่างบนกระดานดำเป็นการพานักเรียนไปเรียนที่เสาธงของโรงเรียน ผนังอาคารเรียน ต้นไม้ และแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ให้ทดลองวัดระยะทางจากจุดที่นักเรียนยืนไปที่เสาธง ผนังตึกเรียน ต้นไม้ โดยเปลี่ยนมุมไปเรื่อย ๆ และ ให้จดบันทึกการวัดไว้ และนำผลมาอภิปรายกันในห้องเรียน และ ให้นักเรียนทำชุดฝึกทักษะการแก้โจทย์ ปัญหาตรีโกณมิติที่เริ่มต้นตั้งแต่ การหาค่าของด้านและมุม จนถึงการแก้โจทย์ปัญหา โดยแบ่งขั้นตอนการแก้ปัญหาโจทย์ไว้เป็นลำดับขั้นอย่าง ชัดเจน จากนั้นแบ่งนักเรียน เป็นกลุ่ม และให้นักเรียนจัดทำโครงงานเกี่ยวกับการนำความรู้เรื่องการแก้โจทย์ปัญหาตรีโกณมิติไปใช้ในชีวิต ประจำวัน
การแก้ไข • หลังจากนั้น ครูสุมาลีทำการทดสอบนักเรียนโดยใช้แบบทดสอบเดิมของปีที่แล้ว พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น ผลจาก การใช้ชุด ฝึกทักษะและโครงงานมาแก้ปัญหาเรื่องการแก้โจทย์ปัญหาตรีโกณมิติของนักเรียน ทำให้บรรยากาศในการเรียนคณิตศาสตร์ดีขึ้น นักเรียน กระตือรือร้นที่ได้ไปเรียนรู้จากสถานที่ที่มีอยู่ในโรงเรียน และสามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
งานวิจัยในชั้นเรียนของครูสุมาลี • ข้อสอบก่อนและหลัง • ชุดฝึกทักษะการแก้โจทย์ปัญหาตรีโกณมิติ สรุปผลงานวิจัย
การประเมินนวัตกรรม ประเมินทำไม อะไรบ้างที่ควรประเมิน วิธีการประเมินเป็นอย่างไร ตัวบ่งชี้คืออะไร เกณฑ์คะแนนเป็นอย่างไร
การประเมินนวัตกรรม วันสถาปนาคณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ ครอบรอบปีที่ 9
ข้อผิดพลาดในการพัฒนานวัตกรรมข้อผิดพลาดในการพัฒนานวัตกรรม • 1.ขาดเหตุผลที่ชี้ให้เห็นความจำเป็นที่ต้องพัฒนานวัตกรรม • 2.ขาดการสังเคราะห์ทฤษฎีที่ใช้สนับสนุนนวัตกรรม • 3.กรอบแนวคิดไม่ชัดเจน • 4.การระบุตัวแปรต้นและตัวแปรตามไม่สมเหตุสมผล • 5.การเลือกเนื้อหาไม่เหมาะสมกับนวัตกรรม • 6.การเลือกเนื้อหาไม่เชื่อมโยงกับหลักสูตรและผลการเรียนรู้ • 7.นิยามศัพท์ของนวัตกรรมไม่ชัดเจน • 8.ขาดหลักฐานข้อมูลที่น่าเชื่อถือเกี่ยวกับประสิทธิภาพของนวัตกรรม • 9.เครื่องมือวิจัยไม่น่าเชื่อถือว่าจะวัดได้จริง • 10.เครื่องมือวิจัยมีแต่แบบทดสอบหรือแบบสอบถามทำให้วัดตัวแปรตามไม่ได้จริง • 11.เน้นข้อมูลเชิงปริมาณมากกว่าเชิงคุณภาพ • 12.นวัตกรรมนั้นก่อให้เกิดความยุ่งยากในการนำไปใช้ • 13.ข้อเสนอแนะไม่ชัดเจนว่าจะนำนวัตกรรมไปใช้อย่างไร • 14.ไม่ระบุเงื่อนไขหรือบริบทและข้อดีข้อจำกัดของนวัตกรรม • 15.ส่วนประกอบของนวัตกรรมไม่ชัดเจนไม่มีขั้นตอนหรือบทบาทของผู้เกี่ยวข้อง • 16.นวัตกรรมนั้นไม่คุ้มค่ากับการลงทุน
คิดร่วมกัน • นวัตกรรมใดที่กลุ่มสาระ……………………สนใจ • ออกแบบนวัตกรรม
ฝากทิ้งท้าย • พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาไม่ใช่เป็นเพียงการตอบสนองเป้าหมายของการจัดการศึกษาเพียงอย่างเดียว แต่หากมองถึงการพัฒนากระบวนการคิดของผู้เรียนให้ก้าวหน้าขึ้น คิดวิเคราะห์ได้มากขึ้น ไม่เพียงเท่านั้นการคิดเพื่อเท่าทันปัญหาและเข้าใจตนเองต่างหากเป็นเป้าหมายสำคัญเพื่อสามารถเลือกปฏิบัติแก่ทุกๆสิ่งในโลกได้อย่างมีเหตุผลและสมดุล วันสถาปนาคณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ ครอบรอบปีที่ 9