210 likes | 405 Views
การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจบรรเทาสาธารณภัย. โดย รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ข้อมูลจำเพาะดาวเทียม SMMS. มีวงโคจรลักษณะ Sun-Synchronous ที่ความสูง 649 กิโลเมตร
E N D
การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจบรรเทาสาธารณภัยการประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับภารกิจบรรเทาสาธารณภัย โดย รศ.ดร.มงคล รักษาพัชรวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ข้อมูลจำเพาะดาวเทียม SMMS • มีวงโคจรลักษณะ Sun-Synchronous ที่ความสูง 649 กิโลเมตร • กล้อง CCD 4 แถบความถี่ (NIR, Red, Green, Blue) ที่ความละเอียด 30 เมตรต่อจุด ความกว้างของภาพ 711 กิโลเมตร • กล้อง Hyper-Spectrum (HSI) มีแถบความถี่ 115 ความถี่ ที่ความละเอียด 100 เมตรต่อจุด ความกว้างของภาพ 51 กิโลเมตร ดาวเทียม SMMS ภาพถ่ายดาวเทียมจาก กล้อง CCD ภาพถ่ายดาวเทียมจากกล้อง Hyper-Spectrum
โอกาสในการถ่ายภาพประเทศไทยของดาวเทียม SMMS ดาวเทียม SMMS มีวงโคจรพาดผ่านประเทศไทยเกือบทุกวัน (รวม 20 รอบในเวลา 31 วัน แล้วจะวนรอบซ้ำอีกครั้ง)
ตัวอย่างการถ่ายภาพพื้นที่ประเทศไทยของดาวเทียมSMMS ภายในครั้งเดียว 4/1/10 14/11/09 19/11/09
ประสิทธิภาพของภาพถ่ายดาวเทียม SMMS แบบ CCD ต่างกันเพียง 2.16 เปอร์เซ็นต์ ภาพจากการประเมินพื้นที่เพาะปลูกข้าวบริเวณจังหวัดสุพรรณบุรี จากดาวเทียม ThEOSช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2553 ภาพจากการประเมินพื้นที่เพาะปลูกข้าวบริเวณจังหวัดสุพรรณบุรี จากดาวเทียม SMMSช่วงเดือนมีนาคม 2553 ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ประสิทธิภาพของภาพถ่ายดาวเทียม SMMS แบบ CCD • กรมทรัพยากรน้ำ นำไปใช้ทดแทนข้อมูลดาวเทียม LANDSAT และ MODIS เพื่อวิเคราะห์ความแห้งแล้งของพื้นที่ ซอฟต์แวร์ประมวลผลข้อมูลความแห้งแล้งของพื้นที่ ที่มา: กรมทรัพยากรน้ำ
ประสิทธิภาพของภาพถ่ายดาวเทียม SMMS แบบ HSI พื้นที่เพาะปลูกข้าว จากการแยกแยะด้วยภาพถ่ายดาวเทียม SMMS พื้นที่เพาะปลูกข้าว จากสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ภาพถ่ายบริเวณที่ทำการตรวจสอบในจังหวัดพะเยา การแยกแยะข้าวด้วยภาพถ่ายดาวเทียม SMMS มีความถูกต้อง 64.79 เปอร์เซ็นต์
สภาวะภัยพิบัติกับภาพถ่ายดาวเทียมสำรวจโลกสภาวะภัยพิบัติกับภาพถ่ายดาวเทียมสำรวจโลก จัดทำแผนที่โอกาสเกิดภัยพิบัติหรือประเมินปัจจัยเสี่ยงภัย ติดตามสภาวะการฟื้นฟู จำลองสถานการณ์และประเมินพื้นที่เสี่ยงภัย ประเมินพื้นที่เสียหาย
การสร้างแผนที่โอกาสเกิดภัยพิบัติการสร้างแผนที่โอกาสเกิดภัยพิบัติ
ตัวอย่าง Dynamic Hazard Map ในพื้นที่จังหวัดอุตรดิษฐ์ created by APIt Map that update from satellite image factor (Rainfall Landuse Elevator and Slop)
การประเมินความชุ่มชื้นในดิน ด้วยภาพถ่าย HSI บนดาวเทียม SMMS เพื่อใช้การวิเคราะห์ภัยพิบัติ กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างย่านความถี่และความชุ่มชื้นในดินที่ระยะความลึก (ที่ระยะ 30และ 60 เซนติเมตร)
การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับการประเมินการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่และลุ่มน้ำ การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับการประเมินการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่และลุ่มน้ำ จากรูป จะเห็นได้ว่า บริเวณพื้นที่รอบเขื่อน จะมีการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน นั้นคือ พื้นที่ที่เป็นป่าไม้ มีการเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งโดยปกติ การตรวจจับการเปลี่ยนแปลงสามารถทำได้โดยใช้ ซอฟต์แวร์ประมวลผล ในการวิเคราะห์ Change Detection ที่สามารถตรวจสอบได้ทั้งพื้นที่ป่าไม้ หรือลุ่มน้ำ ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเขื่อนศรีนครินทร์ ร่วมกับ DEM เมื่อวันที่ 14 พ.ย. 2552 ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเขื่อนศรีนครินทร์ร่วมกับ DEM เมื่อวันที่ 4 ม.ค. 2553 ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเขื่อนศรีนครินทร์ ร่วมกับ DEM เมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2553
ข้อมูลการวิเคราะห์แหล่งน้ำในเขื่อนศรีนครินทร์ ด้วยดาวเทียม SMMS (จากกรมทรัพยากรน้ำ) 2009/11/10 2009/05/22 2009/03/06 2009/04/02 2009/11/14 2010/01/15 2010/01/04 2010/01/19
การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับการสื่อสารโทรคมนาคมการประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมกับการสื่อสารโทรคมนาคม • สามารถนำข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมไปใช้ในการวางแผนการสร้างระบบสื่อสารในหลายๆ หน่วยงาน เช่น • หน่วยงานความมั่นคง • TOT, CAT • การรถไฟแห่งประเทศไทย • การไฟฟ้า การประปา ตำแหน่งติดตั้งอุปกรณ์สื่อสาร ตัวอย่างการวางแผนการติดตั้งโครงข่ายสื่อสารตามเส้นทางรถไฟ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การบูรณาการข้อมูล CCD ของดาวเทียม SMMS ร่วมกับข้อมูล GDEM และข้อมูล GIS พื้นฐาน การจำลองสถานการณ์น้ำ • การออกแบบติดตั้งระบบสื่อสารสำรอง
1.ซอฟต์แวร์ KU-MET สำหรับพยากรณ์ปริมาณน้ำฝน ร่วมกับภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา และสถานีวัดน้ำฝน 2.ศึกษาเงื่อนไขและแนวคิดในการเลือกเงื่อนไขการกรองข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อสร้างแบบจำลอง 3.การพยากรณ์ปริมาณน้ำฝน สำหรับใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์โมเดลน้ำท่วม หรือสภาวะภัยแล้ง
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ปริมาณน้ำฝนเพื่อใช้ในภารกิจฝนหลวงเพื่อแก้ไขสภาวะภัยแล้งตัวอย่างการประยุกต์ใช้ปริมาณน้ำฝนเพื่อใช้ในภารกิจฝนหลวงเพื่อแก้ไขสภาวะภัยแล้ง HJ-1A Earth Observation Satellite Rainfall Estimation Model FY-2C/E Meteorological Satellite GSMaP Effective Rain Making Operations Drought Risk Assessment Model Drought Risk Map
Thank You for Your Attention Question?? facebook.com/SMMSThailand