200 likes | 533 Views
Rosemary Oil. นางนันทวรรณ จงปติยัตต์ นางตติมา หอมแก้ว นางสาริน เหมือนชาติ น.ส.อรวรรณ พงศ์พาณิช น.ส.โชติกานต์ เลิศศรี. Rosemary Oil. ชื่อสามัญ : Rosemary ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rosemarinus officinalis วงศ์ : Lamiaceae การสกัด : Steam Distillation
E N D
RosemaryOil นางนันทวรรณ จงปติยัตต์ นางตติมา หอมแก้ว นางสาริน เหมือนชาติ น.ส.อรวรรณ พงศ์พาณิช น.ส.โชติกานต์ เลิศศรี
Rosemary Oil • ชื่อสามัญ: Rosemary • ชื่อวิทยาศาสตร์: Rosemarinus officinalis • วงศ์ : Lamiaceae • การสกัด : Steam Distillation จาก ดอก ใบ และต้น • Note : Middle เข้ากันได้กับ โหระพา ซีดาร์วูด แทงเจอรีน ฯลฯ
Rosemary Oil • การออกฤทธิ์ : ช่วยบรรเทาปวด ลดอาการซึมเศร้า แก้ปวดรูมาติสซึม ต่อต้านอนุมูลอิสระ ระงับเชื้อ ขับน้ำดี คลายการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ ฝาดสมาน ทำให้จิตใจแจ่มใส บำรุงหัวใจ รักษาแผลเป็น กระตุ้นการทำงานของตับ บำรุงประสาท เพิ่มความดันโลหิต ขับเหงื่อ ปรับธาตุ
Rosemary Oil • สรรพคุณ : ด้านผิวพรรณ - แก้สิว แก้คัน แผลผื่นแดง แก้ผมมัน แก้รังแค กระตุ้นการงอกของผม ระบบหมุนเวียนโลหิต - กระตุ้นการไหลเวียนโลหิต แก้เส้นเลือดขอด บำรุงหัวใจทำให้ภาวะความดันต่ำดีขึ้น กล้ามเนื้อและข้อต่อ - แก้ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อรูมาติสซึม
Rosemary Oil • สรรพคุณ : ระบบทางเดินหายใจ - แก้หวัด แก้ไข้ หืดหอบ ไอ หลอดลมอักเสบ บำรุงปอด ระบบทางเดินอาหาร - แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ แก้ปวดกระเพาะ บรรเทาอาการลำไส้อักเสบ ระบบสืบพันธุ์ - แก้ปัญหาระบบประจำเดือนไม่ปกติ แก้ปวด
Rosemary Oil • สรรพคุณ : ระบบปัสสาวะ - ขับปัสสาวะ ช่วยลดอาการบวมน้ำ ระบบประสาทและจิตใจ - แก้ปวดหัว ไมเกรน คลายเครียด ทำให้สดชื่นกระปรี้กระเปร่า ทำให้ความจำดี มีฤทธิ์ในการกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้ช่วยแก้ปัญหาในเรื่องการพูด ฟัง และ การมองเห็น
Research ผลของสารต้านอนุมูลอิสระใน Rosemary แต่ละชนิด (Anttioxidant effect of various rosemary [rosemarinus officinalis L] clones) Éva Stefanovits-Bányai, Mária H. Tulok, Attila Hegedűs, Csilla Renner, Ilona Szöllősi varga http://www.sci.u-szeged.hu/ABS
Research Rosemary เป็นพืชสมุนไพรเก่าแก่ เป็นพืชที่ น่าสนใจในการแพร่พันธุ์ เป็นที่ไวต่ออากาศเย็น ไม่เหมาะต่อการขยายพันธุ์ในประเทศที่มีอากาศ หนาวจัด คุณค่าของ Rosemary ขึ้นอยู่กับ อายุของการเก็บเกี่ยว จุดประสงค์การทดลอง เพื่อทำการเปรียบเทียบระดับของ Phenol ต่อการต้านอนุมูลอิสระของ Rosemary ในแต่ละสายพันธุ์
Research Rosemary มีฤทธิ์ในการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ซึ่งวัดได้จากปริมาณสารของphenol และปริมาณสารphenolรวมของน้ำมันหอมระเหยที่ได้จากสารสกัดพืช rosemary ชนิดต่างๆ 8 ชนิด ฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระและปริมาณรวมของ phenol วัดได้จาก spectophotometric และปริมาณของน้ำมันหอมระเหยของพืชสดกับ gas chromatograph
Research • วิธีการทดลอง • นำ Rosemary ทั้ง 8 ชนิด โดยนำพืชสด [160 mg: 10 ml] • สกัดด้วย Methanal 4:1 ทิ้งไว้ 2 ช.ม. [Table 1] • การกลั่นน้ำมันหอมระเหยเพื่อแยกตัวยาจากวัตถุดิบ พัฒนามาจาก Clevenger-Type ซึ่งสอดคล้องกับ Hungarian Pharmacopoeia VII at the laboratory of Department of Medicinal and Aromatic Plants ปริมาณของสาร Phenol ที่ได้คำนวณจากกราฟ ความแตกต่างของความเข้มข้นของ Gallic Acid และสาร Antioxidant จาก FRAP [Ferric Reducing Ability of Plasma] ที่ =593 mm
Research Table 1: Origins and Marks of the samples.
Research ผลของการทดลองชี้ให้เห็นว่า antioxidant capacity ของน้ำมันหอมระเหย และพืชสกัดสัมพันธ์กับปริมาณของPhenol ผลที่สังเกตได้ในบางครั้งอาจจะมีความแตกต่างได้จากการวิเคราะห์ปริมาณและคุณภาพ ของสารประกอบในน้ำมันหอมระเหย
Research Volatile oil ตาราง1: Volatile oil contents [ml/100 g fresh weight] of various rosemary clones.
Research ตารางที่2 : Antioxidant capacity [A] and total phenol contents [B] in oils of various rosemary clones. [A] FRAP [B] Total Phenol
Research ตารางที่3 : Antioxidant capacity [A] and total phenol contents [B] in plant extracts of various rosemary clones. [A] FRAP [B] Total Phenol
Research Rosemary ในการรักษา • ต้านเชื้อแบคทีเรีย • ต้านอนุมูลอิสระ • ต้านการอักเสบ • เพิ่มการไหลเวียนโลหิตส่วนปลาย • ต้านไขข้ออักเสบ • ลดความเจ็บปวด
Research Rosemary ในการประกอบอาหาร • ใช้เป็นเครื่องเทศในการปรุงอาหารในประเทศฝรั่งเศส สเปน อิตาลี สารสกัดจาก Rosemary ที่นำมา ผลิตในอุตสาหกรรมอาหารและยา มีสาร Phenol เป็นสารป้องกันการเกิด ปฏิกิริยาลดปริมาณไขมันในอาหาร
Rosemary ทางด้านผลิตภัณฑ์ Cologne ครีมอาบน้ำ โลชั่นใส่ผม แชมพู สบู่ เทียนหอม
Rosemary Oil • ข้อควรระวัง - หญิงที่อยู่ระหว่างตั้งครรภ์ - ผู้ที่มีความดันโลหิตสูง - ผู้ที่เป็นลมชัก ลมบ้าหมู