300 likes | 481 Views
การลงทุนในสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของ กองทุนรวม กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และกองทุนส่วนบุคคลรายย่อย ( หมวดที่ 1 ส่วนที่ 9). หลักเกณฑ์การลงทุน. ไม่ทำให้นโยบายการลงทุนเบี่ยงเบนไปจากเดิม ลงทุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารพอร์ตลงทุน (EPM)
E N D
การลงทุนในสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของกองทุนรวม กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และกองทุนส่วนบุคคลรายย่อย(หมวดที่ 1 ส่วนที่ 9)
หลักเกณฑ์การลงทุน • ไม่ทำให้นโยบายการลงทุนเบี่ยงเบนไปจากเดิม • ลงทุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารพอร์ตลงทุน (EPM) • ยกเว้นกองทุน PVD และกองทุน Money Market ให้ลงทุนเพื่อ Hedging เท่านั้น ข้อ 33
Efficient Portfolio Management (EPM) • เพื่อลดความเสี่ยง (Hedging) • เพื่อลดค่าใช้จ่าย (Cost reduction) • เพื่อเพิ่มรายได้โดยไม่มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ(Return enhancement) ข้อ 2(5)
สินค้าหรือตัวแปรอ้างอิงสินค้าหรือตัวแปรอ้างอิง • หลักทรัพย์ ดัชนีกลุ่มหลักทรัพย์ • อัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน* • อันดับความน่าเชื่อถือ และ credit event • ทองคำ น้ำมันดิบ commodity index • สินค้าหรือตัวแปรอื่นที่สำนักงานกำหนด * ให้ทำธุรกรรมเพื่อลดความเสี่ยงเท่านั้น ข้อ 34 และ 35
การจัดประเภทของสัญญา • เป็นตราสารทุน ในกรณีมีตราสารทุนเป็นตัวแปร หรือองค์ประกอบของตัวแปร • เป็นตราสารหนี้ ในกรณีมีตราสารหนี้ อัตราดอกเบี้ย อันดับความน่าเชื่อถือ หรือ credit events เป็นตัวแปร หรือองค์ประกอบของตัวแปร • เป็นตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุน ในกรณีมีตราสารกึ่งหนี้กึ่งทุนเป็นตัวแปรหรือองค์ประกอบของตัวแปร ข้อ 39
คู่สัญญา • Exchanges ที่ได้รับการยอมรับจากสำนักงาน ทั้งในและต่างประเทศ • ธนาคารพาณิชย์ • ธนาคารที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น ในประเทศ • ตัวแทนซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า • ผู้ค้าสัญญาซื้อขายล่วงหน้า } ข้อ 36(4)
Valuation • ราคาปิดของ Exchange • กรณี OTC ให้คู่สัญญาทำการคำนวณและแจ้งมูลค่าของสัญญาทุกวันที่ 15 และวันทำการสุดท้ายของเดือน • ในกรณีเกิดเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อมูลค่าสัญญา คู่สัญญาต้องทำการ update และแจ้งมูลค่าใหม่ทันที • ต้องมีข้อกำหนดให้ บลจ. สามารถ unwind สัญญาได้ ข้อ 37
การทำธุรกรรม derivatives เพื่อลดความเสี่ยง (Hedging) • การทำธุรกรรม derivatives เพื่อลดความเสี่ยงให้ทำได้ไม่เกินความเสี่ยงที่กองทุนมีอยู่ • ในกรณีที่ตัวแปรของ derivatives ที่ใช้ลดความเสี่ยงไม่ใช่ตัวเดียวกับทรัพย์สินที่ต้องการลดความเสี่ยง (cross hedge)ค่า correlation (in absolute value) ระหว่างผลตอบแทนของทรัพย์สินที่ต้องการลดความเสี่ยงและตัวแปรของ derivative ต้องไม่น้อยกว่า 0.7 (คำนวณจากข้อมูลอย่างน้อย 50 ตัวอย่าง) ข้อ 36(1)
การทำธุรกรรม derivatives ที่ไม่ใช่เพื่อลดความเสี่ยง • ไม่อนุญาตสำหรับ PVD และ Money Market Fund • ธุรกรรม derivatives ดังกล่าวต้อง fully covered • “Fully covered คือการดำเนินการให้มีการกันหรือแยกทรัพย์สินของกองทุน (ตามประเภทที่ สนง. กำหนด) ในมูลค่าที่เพียงพอต่อมูลค่าสุทธิที่กองทุนอาจมีภาระต้องชำระหนี้หรือชำระค่าสินค้าเมื่อสิ้นสุดสัญญาซื้อขายล่วงหน้า” ข้อ 38
ประเภททรัพย์สินที่ใช้ cover สัญญา derivatives • เงินสด เงินฝากธนาคาร • หลักประกันในระบบการชำระหนี้ (Margin) • B/E ที่ออกโดยสถาบันการเงิน • ตราสารภาครัฐอายุไม่เกิน 3 ปี และเป็นสกุลเงินบาท • ตราสารหนี้อายุไม่เกิน 1 ปีที่ขึ้นทะเบียนกับ ThaiBMA และมี rating 3 อันดับแรก • ตราสารหนี้อายุไม่เกิน 1 เดือนที่ขึ้นทะเบียนกับ ThaiBMA และมี rating 4 อันดับแรก
ประเภททรัพย์สินที่ใช้ cover สัญญา derivatives(ต่อ) • ตราสารแห่งหนี้ที่มีผู้แสดงตนต่อบุคคลทั่วไปว่าพร้อมจะเสนอซื้อและจะรับซื้อในราคาดังกล่าวตลอดอายุตราสาร • หุ้นสามัญจดทะเบียน • หน่วยลงทุนของกองทุนรวม daily redemption • ธุรกรรม Reverse Repo อายุคงเหลือไม่เกิน 7 วัน • รายการค้างรับหักด้วยรายการค้างจ่ายที่จะครบกำหนดภายใน 7 วัน (เฉพาะรายการที่เกิดจากการลงทุนในหรือจำหน่ายทรัพย์สินของกองทุน)
Investment limit Product Limit • เพื่อ hedge: ได้ไม่เกินความเสี่ยงที่มี • ไม่ใช่เพื่อ hedge: ได้ไม่เกินมูลค่าของทรัพย์สินที่ใช้ cover Company Limit • คำนวณ company limit ของคู่สัญญา (ถ้ามี credit risk) • คำนวณ company limit ของสินค้าหรือตัวแปรเสมือนลงทุนในสินค้าหรือตัวแปรโดยตรง (ถ้าทำให้เกิด credit risk) ข้อ 71 และ 72
Futures • Required cover = มูลค่าของ Notional amount • Company limit ของคู่สัญญา: ไม่คิด เนื่องจากมี clearing house • Company limit ของสินค้าหรือตัวแปร: • มีตัวแปรเป็น index: ไม่คิด • กรณีไม่ใช่ index: นับ notional amount ใน company limit ของแต่ละบริษัทตามน้ำหนักการอ้างอิง
Futures: ตัวอย่าง • บลจ. A ซื้อ set50 index futures ที่ 550 จำนวน 2 contracts • Required cover = 2 x 550 x 1000 • Company limit = ไม่ต้องคำนวณ • บลจ. B ซื้อ PTT stock future ที่ 220 จำนวน 2 contracts • Required cover = 2 x 220 x 100 • Company limit = 2 x 220 x 100 (PTT)
Forwards • Required cover = มูลค่าที่ต้องชำระตามสัญญา ณ วันครบอายุสัญญา • Company limit ของคู่สัญญา: net profit (minimum = 0) • Company limit ของสินค้าหรือตัวแปร: • คิดเฉพาะในกรณีการลงทุนมีสถานะเดียวกับ long position บนสินค้าหรือตัวแปร • มีตัวแปรเป็น index: ไม่คิด • กรณีไม่ใช่ index: นับ notional amount ใน company limit ของแต่ละบริษัทตามน้ำหนักการอ้างอิง
Forwards: ตัวอย่าง บลจ. A ทำสัญญา long forward หุ้น BBL ที่ 100 บาทจำนวน 10,000 หุ้น โดยมีคู่สัญญาคือ KBANK • Required cover = 100 x 10,000 • Company limit (BBL) = 100 x 10,000 • Company limit (KBANK) = 0 อีก 15 วันถัดมามูลค่า Mark to market ของสัญญา = 120 บาท • Required cover = 100 x 10,000 (เท่าเดิม) • Company limit (BBL) = 120 x 10,000 • Company limit (KBANK) = (120 – 100) x 10,000
SWAPs • Required cover = notional amount • Company limit ของคู่สัญญา: net profit (minimum = 0) • Company limit ของสินค้าหรือตัวแปร: • คิดเฉพาะในกรณีการลงทุนมีสถานะเดียวกับ long position บนสินค้าหรือตัวแปร • มีตัวแปรเป็น index: ไม่คิด • กรณีไม่ใช่ index: นับ notional amount ในcompany limit ของแต่ละบริษัทตามน้ำหนักการอ้างอิง
SWAPs: ตัวอย่าง บลจ. B ทำ IRS กับ SCB เพื่อลดความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารหนี้ โดยมี Notional amount 20 ล้านบาท • Required cover = ไม่ require • Company Limit (SCB) = 0 อีก 15 วันถัดมา มูลค่าของสัญญา = 50,000 บาท • Company limit (SCB) = 50,000 บาท
Options/Warrants • Required cover = มูลค่าการใช้สิทธิ • Company limit ของคู่สัญญา: net profit (minimum = 0) • Company limit ของสินค้าหรือตัวแปร: • คิดเฉพาะในกรณีการลงทุนมีสถานะเดียวกับ long position บนสินค้าหรือตัวแปร • มีตัวแปรเป็น index: ไม่คิด • กรณีไม่ใช่ index: นับ Option delta x notional amount ใน company limit ของแต่ละบริษัทตามน้ำหนักของการอ้างอิง • ห้ามwrite option ยกเว้น options ที่มีข้อผูกพันให้ส่งมอบสินค้าที่กองทุนมีอยู่แล้ว และต้องดำรงสินค้าดังกล่าวไว้อย่างพอเพียงตลอดอายุของ option นั้น
Options/Warrants: ตัวอย่าง • บลจ. C ลงทุน long 210CALL จำนวน 20 contracts บนหุ้น PTT ซึ่งในขณะนั้นมีราคา = 220 (delta = 0.45) • Required cover = 210 x (100 x 20) • Company limit (PTT) = 0.45 x 220 x (100 x 20) • บลจ. D ลงทุนใน warrants ของ BBL ที่จะซื้อหุ้น BBL 1 หุ้นในราคา 95 บาท จำนวน 5,000 หน่วย ในขณะที่หุ้น BBL ราคา 100 บาท (delta = 0.55) • Required cover = 95 x 5,000 • Company limit (BBL) = 0.55 x 100 x 5,000
การลงทุนในตราสารที่มีสัญญาซื้อขายล่วงหน้าแฝง(Structured Note)ของกองทุนรวม กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และกองทุนส่วนบุคคลรายย่อย(หมวดที่ 1 ส่วนที่ 10)
หลักเกณฑ์ • ต้องขอความเห็นชอบ • ไม่ทำให้นโยบายการลงทุนเบี่ยงเบน • มีการจ่ายผลตอบแทนที่อ้างอิงกับตัวแปรที่สำนักงานกำหนด(เหมือนของ derivatives) • กรณี settle ด้วยทรัพย์สินอื่น ต้องเป็นทรัพย์สินที่กองทุนลงทุนได้ • กรณี callable note ต้องเปิดเผยความเสี่ยงที่ผู้ออกอาจ call ตราสารก่อนครบอายุด้วย ข้อ 40 วรรค 1
Valuation • ให้คู่สัญญาทำการคำนวณและแจ้งมูลค่าของตราสารไปยัง ThaiBMA ทุกวันที่ 15 และวันทำการสุดท้ายของเดือน • ในกรณีเกิดเหตุการณ์ที่อาจส่งผลกระทบต่อมูลค่าตราสารคู่สัญญาต้องทำการ update และแจ้งมูลค่าใหม่ทันที • ต้องมีข้อกำหนดให้ บลจ. สามารถ unwind ตราสารได้ ข้อ 41
การขอความเห็นชอบ ให้ บลจ. ยื่นคำขอพร้อมทั้งหลักฐานดังต่อไปนี้ • โครงสร้างและรายละเอียดของตราสาร • วัตถุประสงค์ของการลงทุนในตราสารดังกล่าว • วิธีการกำหนดมูลค่ายุติธรรมของตราสาร • การบริหารความเสี่ยง • การเปิดเผยข้อมูลแก่ผู้ลงทุน • การบันทึกบัญชีในงบการเงิน ข้อ 40 วรรค 2
ลักษณะของ structured note ที่ถือว่าได้รับความเห็นชอบจากสำนักงานแล้ว • หุ้นกู้อนุพันธ์ที่ • ขึ้นทะเบียน ThaiBMA และมีราคาที่กำหนดโดย ThaiBMA • ได้รับ rating ระดับ investment grade หรือมี บลจ. ลงทุนไม่น้อยกว่า 3 รายในช่วง IPO • ตราสารที่ออกโดยสถาบันการเงินไทย หรือสถาบันการเงินต่างประเทศที่ได้รับ rating ระดับ Investment grade ที่ • อยู่ในรูปแบบตราสารหนี้ • อ้างอิงกับ ราคาหุ้น/กลุ่มหุ้นจดทะเบียน ตราสารแห่งหนี้ ดัชนีกลุ่มหลักทรัพย์ commodity index หรือ อัตราดอกเบี้ย • ชำระคืนเงินต้นเต็มจำนวน ณ วันครบอายุ ข้อ 42
Product Limit • PVD และ PF รายย่อย: ไม่เกิน 15% ของ NAV • MF: ไม่เกิน 25% ของ NAV ยกเว้น • กองทุนรวมปิด (Close-end Fund) • Auto redemption fund • กองทุนเปิดที่ช่วงเวลาระหว่างการเปิดซื้อขายหน่วยครอบคลุมตลอดช่วงอายุของตราสาร เช่น กอง annual redemption ลงทุนใน structured note อายุ 9 เดือน ข้อ 67 และ 68
วิธีการคำนวณ company limit • นำมูลค่าตราสารไปคำนวณ company limit ของผู้ออกหรือผู้ที่ต้องชำระหนี้ตามตราสาร • ในกรณีที่การลงทุนทำให้กองทุนต้องรับ credit risk ที่เกี่ยวข้องกับสินค้าหรือตัวแปร ให้นำมูลค่าตราสารไปคำนวณ company limit ของสินค้าหรือตัวแปรเสมือนลงทุนในสินค้าหรือตัวแปรโดยตรง • ในกรณีที่ตราสาร settle ด้วยทรัพย์สินอื่น ให้นำมูลค่าของทรัพย์สินดังกล่าวไปคำนวณ company limit เสมือนลงทุนในทรัพย์สินนั้นโดยตรงในทันทีที่ลงทุน ข้อ 73 และ 74
ตัวอย่างการคำนวณ company limit บลจ. C ลงทุนใน structure note ที่ออกโดยธนาคาร CC มีมูลค่า10 ล้านบาท และมีการจ่ายผลตอบแทน ณวันครบอายุดังนี้ Basket return = (0.6*stock A return + 0.4* stock B return) Note’s return = max (basket return,0) • Company Limit ของธนาคาร CC= 10 ล้านบาท • Company Limit ของ A = 0.6 x 10 = 6 ล้านบาท • Company Limit ของ B = 0.4 x 10 = 4 ล้านบาท
ก่อนการลงทุนในDerivatives และ Structured Note • PVD: บลจ. ต้องอธิบายถึงความเสี่ยงและแนวทางการบริหารความเสี่ยงให้คณะกรรมการกองทุนทราบ และได้รับความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรจากคณะกรรมการกองทุน • MF/PF: บลจ. ต้องเปิดเผยไว้ในนโยบายการลงทุน อธิบายความเสี่ยงและแนวทางการบริหารความเสี่ยงไว้ในโครงการ ในกรณีกองเก่าต้องทำการแก้ไขโครงการหรือสัญญาการจัดการก่อนลงทุน • Derivatives ที่มีสินค้าหรือตัวแปรที่เป็นทองคำ น้ำมันดิบ หรือ commodity index หาก บลจ. ต้องการขอมติผู้ถือหน่วยแก้ไขโครงการเพื่อลงทุน ให้ บลจ. จัดส่งหนังสือนัดประชุมหรือหนังสือขอมติที่มีข้อมูลความเสี่ยงและแนวทางการบริหารความเสี่ยงให้สำนักงานพิจารณาก่อน และให้ถือว่าสำนักงานเห็นชอบหากสำนักงานไม่ท้วงติงภายใน 15 วัน ข้อ 46
การจัดทำข้อมูลการลงทุนสำหรับ MF PF รายย่อยและ PVD • วัตถุประสงค์และกลยุทธ์ • กำไร/ขาดทุนที่คาดว่าจะได้รับ • การวิเคราะห์ความเสี่ยงของคู่สัญญา • แผนรองรับการชำระหนี้ตามสัญญา/ตราสาร • MF ให้จัดส่งข้อมูลให้ trustee ภายใน 5 วันทำการนับแต่วันที่ทำธุรกรรม และจัดเก็บสำเนาไว้เพื่อตรวจสอบได้ • PVD PF รายย่อย ให้จัดส่งข้อมูลให้ลูกค้าหรือ FC ข้อ 47 และ 48