490 likes | 751 Views
HIVQUAL-T โรงพยาบาลหนองบัวลำภู. การดำเนินงานโปรแกรม HIV QUAL-T โรงพยาบาลหนองบัวลำภู. 1. ข้อมูลทั่วไป จำนวนเนื้อที่ 107 ไร่ อาคารผู้ป่วยใน 4 หลัง 4 ชั้น / หลัง อาคารผู้ป่วยนอก 1 หลัง 4 ชั้น
E N D
HIVQUAL-TโรงพยาบาลหนองบัวลำภูHIVQUAL-Tโรงพยาบาลหนองบัวลำภู
การดำเนินงานโปรแกรม HIV QUAL-Tโรงพยาบาลหนองบัวลำภู 1. ข้อมูลทั่วไป จำนวนเนื้อที่ 107 ไร่ อาคารผู้ป่วยใน 4 หลัง 4 ชั้น / หลัง อาคารผู้ป่วยนอก 1 หลัง 4 ชั้น อาคารวินิจฉัย 1 หลัง 4 ชั้น อื่นๆ อาคารซ่อมบำรุง , อาคารพัสดุ , อาคารโภชนาการ อาคารเภสัช , อาคารชักฟอก
บุคลากรโรงพยาบาลหนองบัวลำภูข้าราชการ / ลูกจ้างประจำ / ลูกจ้างชั่วคราว / พนักงานราชการจำนวน 544 คน ปริมาณผู้รับบริการปีงบประมาณ 2551 (ตุลาคม 2550 – กันยายน 2551) ผู้ป่วยนอก จำนวน 163,624 ราย ผู้ป่วยใน จำนวน 16,326 ราย รวมทั้งหมด จำนวน 179,950 ราย
การทำงานเป็นทีมเป็นหัวใจสำคัญการทำงานเป็นทีมเป็นหัวใจสำคัญ
คณะทำงานโรคเอดส์ พยาบาลเวชกรรมสังคม พยาบาลเยี่ยมบ้าน พยาบาลให้คำปรึกษา อายุรแพทย์ พยาบาลอายุรกรรม พยาบาลห้องฝากครรภ์ พยาบาลห้องคลอด พยาบาลตึกหลังคลอด พยาบาลห้องตรวจสูตินรีเวช สูติแพทย์ พยาบาลห้องตรวจเด็ก กุมารแพทย์ เภสัชกร แกนนำผู้ติดเชื้อ นักเทคนิคการแพทย์
บุคลากรที่รับผิดชอบงานเอดส์ จำนวน 12 คน ประกอบด้วย อายุรแพทย์ 1 คน กุมารแพทย์ 1 คน เภสัชกร 2 คน พยาบาลวิชาชีพ 3 คน (เวชกรรมสังคม 1,อายุรกรรม 1,ANC 1) พยาบาลเทคนิค 1 คน แกนนำผู้ติดเชื้อ 4 คน
2. สถานการณ์เอดส์โรงพยาบาลหนองบัวลำภู ลงทะเบียนผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ 283 คน สิทธิหลักประกันสุขภาพ 228 คน สิทธิประกันสังคม 34 คน สิทธิว่าง 7 คน ข้าราชการ 8 คน ผู้ป่วย ATC จำนวนผู้ป่วย 205 คน จำนวนผู้ป่วยที่ยังคงกินยา ณ.ปัจจุบัน 192 คน ผู้ป่วย PATC จำนวนผู้ป่วยสะสม 92 คน จำนวนผู้ป่วยที่ยังคงกินยา ณ.ปัจจุบัน 85 คน จำนวนผู้รับยา ARV ทั้งหมด 277 คน จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับยาสูตรพื้นฐาน 268 คน จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับสูตรดื้อยา 9 คน
3. การบริการดูแลผู้ติดเชื้อ เอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ และโครงสร้างการพัฒนาคุณภาพแนวทางการตรวจรักษา HIV
แนวทางการตรวจ HIV ผ่าน Counselling 100% ผู้รับบริการ ตรวจ Anti - HIV (งานจิตเวช) คัดกรอง TB,CXR ผล Positive Safe sex VDRL Counselling โครงการNAPHA/ CARE/ ตรวจ CD4 ผู้ติดเชื้อ HIV เพศหญิง ตรวจPV+Papsmear
ผู้ติดเชื้อ HIV + ผู้ป่วยเอดส์ ตรวจ CD 4 CD 4 > 200 cell Counselling F/ u CD4 ทุก 6 เดือน CD 4 < 200 cell เตรียมรับยา OI/ ARV เข้าโครงการ
แนวทางการรับยา ARV / OI CD 4 < 200 100 cell < CD4 < 200 cell รับยา ARV รับยา OI - Cotri (200) 2 tab × 1 pc CD4 < 100 cell รับยา ARV รับยา OI - Cotri (200) 2 tab × 1 pc - Fluconazole (200) 2 tab /1 wk หมายเหตุ : การรับยา OI ตามเกณฑ์การติดเชื้อฉวยโอกาส
แนวทางการรับยา ARV ในเด็ก CD 4 อายุ < 1 ปี อายุ 1-3 ปี อายุ >3 ปี CD4 < 25 % CD4 < 15 % CD4 < 20 % CD4 < 200 Cell < 1,500 Cell CD4 < 750 Cell
LAB ในผู้ติดเชื้อเอดส์, ผู้ป่วยเอดส์ (เตรียมรับยา ARV + OI) ผู้ใหญ่ เด็ก HIV + CD4<200 cell SGPT /SGOT VDRL CXR AFB ผู้รับยา ARV ตรวจ VL ปีละ 1 ครั้ง HIV + CD4 < 20 % SGPT ,SGOT,CBCPlt count, BUN Cr ,Elyte VDRL, CXR
แนวทางการดูแลมารดา ANC + HIV Counselling โครงการ CARE + ตรวจ CD4 + HIV QAUL -T Preg 28 wks รับยา AZT 300 มิลลิกรัม เช้า-เย็น จนเจ็บครรภ์ คลอด รับยา NVP 200มิลลิกรัม 1เม็ด และ ยา AZT 300มิลลิกรัม 1 เม็ด เมื่อเริ่มเจ็บครรภ์คลอด รับยา AZT ขนาด 300 มิลลิกรัม ซ้ำทุกๆ 3 ชั่วโมง จนคลอด หลังคลอด รับยา AZT +3TC ต่อ 1 WK ถ้าตรวจ CD4 > 200 cell F/U CD4 ทุก 6 เดือน
กรณีหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ HIV และ CD4 < 200 ให้ยา AZT +3TC +NVP ในระยะตั้งครรภ์ ( GPO-vir Z ) ไม่ต้องเพิ่ม AZT หรือ NVP ในขณะเจ็บครรภ์คลอด หลังคลอด เปลี่ยนเป็น GPO-vir ( 3TC + d4T +NVP ) กรณีมารดาติดเชื้อเอดส์ กินยา ARV เดิม GPO-vir ( 3TC +d4T+ NVP ) ถ้าตั้งครรภ์ ให้เปลี่ยนยากินเป็น GPO-virZ ( AZT +3TC+NVP ) จนหลังคลอดจึงเปลี่ยนกินยาสูตรเดิม
แนวทางการให้ยาต้านไวรัสแนวทางการให้ยาต้านไวรัส ในเด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ HIV ให้ยา NVP ชนิดน้ำขนาด 6มิลลิกรัม 1 ครั้ง ( หากน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ให้ยา NVP ชนิดน้ำ ขนาด 2 มิลลิกรัม / น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม) ให้ยา AZT ชนิดน้ำ ขนาด 2 มิลลิกรัม / น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม เร็วที่สุด ภายใน 48 ชั่วโมง ให้ยา AZT ชนิดน้ำขนาด 2 มิลลิกรัม/ น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ทุก 6 ชั่วโมง ถ้าแม่ได้รับยาต้านไวรัส ขณะตั้งครรภ์ถึงคลอดตั้งแต่ 4 สัปดาห์ขึ้นไป เด็กจะได้รับยา AZT ชนิดน้ำ ติดต่อกัน 1 สัปดาห์ ถ้าแม่ได้รับยาต้านไวรัสในระหว่างตั้งครรภ์ถึงคลอดน้อยกว่า 4 สัปดาห์ เด็กจะได้รับยา AZT ชนิดน้ำ เป็นเวลา 6 สัปดาห์
4. หลังอบรมโปรแกรม HIVQUAL-T จัดประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเวชระเบียน คลินิกเพื่อน แสดงรายงานต่างๆ ตามตัวชี้วัด เวชระเบียนเลือกกลุ่มเป้าหมายจาก ICD10 ที่เข้าเกณฑ์ (อายุ 15 ปีขึ้นไป รับบริการ 2 ครั้ง) บันทึกข้อมูลตามตัวชี้วัดใน โปรแกรม HIVQUAL-T นำข้อมูลเข้าโปรแกรม HIVQUAL-T สุ่มตัวอย่างโดยโปรแกรม HIVQUAL-T กรองกลุ่มตัวอย่างให้ถูกต้อง กรอกข้อมูลตามแบบฟอร์ม
5. ข้อมูลการวัดผลจากโปรแกรม HIV QUAL-Tตามตัวชี้วัด 7 ตัวชี้วัด 1. การติดตามผล CD4, VL 2. การป้องกันโรคฉวยโอกาสแบบปฐมภูมิ 3. การให้ยาต้านไวรัส 4. การคัดกรองวัณโรค 5. การป้องกันการแพร่เชื้อ 6. การตรวจคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 7. การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ
6. ผลการดำเนินงาน การติดตามผล CD4 ร้อยละของผู้ป่วยที่ตรวจ CD4 อย่างน้อย 1 ครั้งในปีประเมิน (N=36 ทำได้ = 31) 2549 ร้อยละของผู้ป่วยที่ตรวจ CD4 อย่างน้อย 1 ครั้งในปีประเมิน (N=74 ทำได้ = 71 ) 2550
การติดตามผล CD4 ร้อยละของผู้ป่วยที่ตรวจ CD4 อย่างน้อย 2 ครั้ง ในปีประเมิน (N= 36 ทำได้ = 17) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่ตรวจ CD4 อย่างน้อย 2 ครั้ง ในปีประเมิน (N= 71 ทำได้ = 28 )
การติดตามผล CD4 ร้อยละของผู้ป่วย (CD4>350) ที่ได้ตรวจตรวจ CD4 ทุก 6 เดือน (N= 8 ทำได้ = 2) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วย (CD4>350) ที่ได้ตรวจตรวจ CD4 ทุก 6 เดือน (N= 22 ทำได้ = 7)
การติดตามผล CD4 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับยา ARV และ ได้รับการตรวจ CD4 อย่างน้อย 2 ครั้ง (N= 22 ทำได้ = 13) 2549 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับยา ARV และ ได้รับการตรวจ CD4 อย่างน้อย 2 ครั้ง (N= 54 ทำได้ = 27) 2550
การติดตามผล VL 2549 ร้อยละของผู้ป่วยที่ตรวจ VL อย่างน้อย 1 ครั้ง ในปีประเมิน (N=36 ทำได้ =2) 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่ตรวจ VL อย่างน้อย 1 ครั้ง ในปีประเมิน (N=74 ทำได้ = 23)
การติดตามผล VL ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านไวรัสและได้ตรวจ VL อย่างน้อย 1 ครั้ง (N=22 ทำได้ =2) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านไวรัสและได้ตรวจ VL อย่างน้อย 1 ครั้ง (N=54 ทำได้ = 23)
การป้องกันโรคฉวยโอกาสแบบปฐมภูมิการป้องกันโรคฉวยโอกาสแบบปฐมภูมิ ร้อยละของผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ และ ได้รับยาป้องกันโรคปอดอักเสบ (PCP) (N=21 ทำได้ = 15) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ และ ได้รับยาป้องกันโรคปอดอักเสบ (PCP) (N=39 ทำได้ = 26)
การป้องกันโรคฉวยโอกาสแบบปฐมภูมิการป้องกันโรคฉวยโอกาสแบบปฐมภูมิ ร้อยละของผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ และ ได้รับยาป้องกันโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Cryptococcosis) (N=15 ทำได้ = 8) 2549 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ และ ได้รับยาป้องกันโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Cryptococcosis) (N=26 ทำได้ = 23) 2550
การให้ยาต้านไวรัส ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์รับยา ได้รับยา ARV (N= 24 ทำได้ = 22) 2549 ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์รับยา ได้รับยา ARV (N=43 ทำได้ = 30) 2550
การให้ยาต้านไวรัส-กินสม่ำเสมอการให้ยาต้านไวรัส-กินสม่ำเสมอ ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับยาสม่ำเสมอ (N=22 ทำได้ = 22) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับยาสม่ำเสมอ (N=54 ทำได้ = 54)
การคัดกรองวัณโรค ร้อยละของผู้ป่วยที่มีประวัติ/ กำลังรักษา TB (N=36 ทำได้ =10) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีประวัติ/ กำลังรักษา TB (N=74 ทำได้ =24)
การคัดกรองวัณโรค ร้อยละของผู้ป่วยที่มีประวัติ/กำลังรักษา TB ได้รับการรักษาและติดตาม (N=10 ทำได้ =9) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีประวัติ/กำลังรักษา TB ได้รับการรักษาและติดตาม (N=24 ทำได้ =23)
การคัดกรองวัณโรค ร้อยละของผู้ป่วยที่ไม่มีประวัติ/ กำลังรักษา TB ได้รับการคัดกรองวัณโรค (N=26 ทำได้ = 14) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่ไม่มีประวัติ/ กำลังรักษา TB ได้รับการคัดกรองวัณโรค (N=50 ทำได้ = 32)
การป้องกันการแพร่เชื้อการป้องกันการแพร่เชื้อ ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับข้อมูล/คำปรึกษา เรื่อง safe sex ( N=36 ทำได้ = 35) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับข้อมูล/คำปรึกษา เรื่อง safe sex ( N=74 ทำได้ = 71)
การป้องกันการแพร่เชื้อการป้องกันการแพร่เชื้อ ร้อยละของคู่นอนประจำที่ทราบผลการติดเชื้อ HIV ( N=13 ทำได้ = 11) 2549 2550 ร้อยละของคู่นอนประจำที่ทราบผลการติดเชื้อ HIV (N=42 ทำได้ = 38)
การป้องกันการแพร่เชื้อการป้องกันการแพร่เชื้อ ร้อยละของคู่นอนประจำของผู้ป่วยที่ยังไม่ทราบผล แต่ได้รับคำแนะนำพาคู่มาตรวจ ( N=2 ทำได้ = 1) 2549 2550 ร้อยละของคู่นอนประจำของผู้ป่วยที่ยังไม่ทราบผล แต่ได้รับคำแนะนำพาคู่มาตรวจ ( N=4 ทำได้ = 4)
การป้องกันการแพร่เชื้อการป้องกันการแพร่เชื้อ ร้อยละของผู้ป่วยที่ระบุว่ามีเพศสัมพันธ์ ได้รับการแจกถุงยางอนามัย (N=11 ทำได้ = 7) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่ระบุว่ามีเพศสัมพันธ์ ได้รับการแจกถุงยางอนามัย (N=29 ทำได้ = 28)
การป้องกันการแพร่เชื้อการป้องกันการแพร่เชื้อ 2549 2550
การคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์(ซิฟิลิส)การคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์(ซิฟิลิส) 2549 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจคัดกรอง ซิฟิลิส ( N=36 ทำได้ = 17) 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจคัดกรอง ซิฟิลิส ( N=74 ทำได้ = 61)
การคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์(ซิฟิลิส)การคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์(ซิฟิลิส) ร้อยละของผู้ป่วยที่มีเพศสัมพันธ์ และ ได้รับการตรวจคัดกรองซิฟิลิส ซิฟิลิส ( N=12 ทำได้ = 4) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีเพศสัมพันธ์ และ ได้รับการตรวจคัดกรองซิฟิลิส ซิฟิลิส ( N=19 ทำได้ = 5)
การคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์(อื่น ๆ) 2549 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจอวัยวะสืบพันธ์หรือแผลอวัยวะเพศ ( N=12 ทำได้ = 0) 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจอวัยวะสืบพันธ์หรือแผลอวัยวะเพศ ( N=20 ทำได้ = 2)
การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ ร้อยละของผู้ป่วยหญิงที่ได้รับการตรวจภายใน PAP smear ( N=20 ทำได้ = 1) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยหญิงที่ได้รับการตรวจภายใน PAP smear ( N=20 ทำได้ = 9)
7. การปรับปรุงคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ 1. สถานที่เป็น one stop service 2. แกนนำ + ผู้ป่วยผู้ติดเชื้อมีส่วนร่วม / ประสานเครือข่าย NGO/ภาคเอกชน 3. Adherence การกินยาต่อเนื่อง , สม่ำเสมอ 4. พัฒนาศักยภาพบุคลากร 5. ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ได้เข้าถึงบริการตามตัวชี้วัดครอบคลุมมากขึ้น
8. สิ่งที่ได้เรียนรู้ 1. TEAM WORK 2. การมีส่วนร่วมของผู้ติดเชื้อ 3. เน้นการเตรียมผู้ป่วยก่อนรับยา , ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ 4. ผู้ป่วยกินยา + ดูแลตัวเอง ดีขึ้น เด็ก ครอบครัว / ผู้ดูแล
9. ความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรมพัฒนาคูณภาพ 10. ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน 1. ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ได้รับการดูแลครอบคลุมคุณภาพชีวิตดีขึ้น 2. ทีมงามได้พัฒนารูปแบบการทำงานและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 1. การสุ่มตัวอย่างตามโปรแกรม - ต้องเปลี่ยนตัวอย่างที่สุ่มบ่อยเนื่องจากข้อมูลมีความผิดพลาด 2. การลงบันทึกใน OPD CARD ผู้ป่วยยังไม่ครอบคลุมข้อมูลที่ต้องการ
11. แนวทางการแก้ไข - ทีมงาน+ผู้ป่วย+แก่นนำ+ได้พัฒนาการให้บริการผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ให้ครอบคลุมตามตัวชี้วัดอย่างต่อเนื่อง
ในการดำเนินงานไม่ได้ใช้งบประมาณในการบริหารโครงการ แต่พัฒนาตัวชี้วัดเข้าในระบบบริการปกติ ผู้ป่วย แพทย์ ผู้ให้คำปรึกษา พยาบาล จนท. LAB เภสัชกร แกนนำผู้ติดเชื้อ **ครอบครัว **