40 likes | 202 Views
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ อุตสาหกรรมขนส่ง. อุตสาหกรรม เป้าหมาย. การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดกระบี่ พังงา และภูเก็ต จากการจัดอาชีวศึกษา. สถานประกอบการ. นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ. ผู้ใช้. เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น.
E N D
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ อุตสาหกรรมขนส่ง อุตสาหกรรม เป้าหมาย การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดกระบี่ พังงา และภูเก็ตจากการจัดอาชีวศึกษา สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ ศูนย์วิทยุชุมชน อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน) • ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน • เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ • เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ • เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน • คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ การบริหารจัดการกำลังคน • เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
จังหวัดกระบี่ สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 250 แห่ง (สปช. 232 แห่ง และ สศ. 18 แห่ง) สังกัด เอกชน 16 แห่ง สังกัด กศน. 8 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 5 แห่ง 1. วท.กระบี่ 2. วษท.กระบี่ 3. วช.กระบี่ 4. วก.อ่าวลึก 5. วก.คลองท่อม • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศใต้และตะวันตก เขตเขตติดต่อกับทะเลอันดามัน • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 85,059 บาท ต่อปี (อันดับ 5 • ของภาค อันดับ 21 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้สูงที่สุด คือ ภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 50.49 % • พืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัด • ยางพารา ปาล์มน้ำมัน • ประชากร • จำนวนประชากร 395,665 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 36,756 คน หรือ 14.31% • จำนวนผู้ว่างงาน 3,262 คน เป็นชาย 1,114 คน เป็นหญิง 2,148 คน อัตราการว่างงาน 1.25% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด 112,210 คน หรือ 52.37% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ปลูกผักปลอดสารพิษ ระบบ Hydroponics 2) การทำไวน์ผลไม้ • 3) การจัดดอกไม้ในงานพิธีต่าง ๆ 4) การทำขนมอบ 5) ทำขนมทองม้วน • 6) การทำเพาะเห็ดในถุงพลาสติก 7) การทำพวงหรีดและผลิตของชำร่วยงานศพ • 8) น้ำมันว่าน 9) เสริมสวย (ที่มา อศจ.กระบี่) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 60,598 คน หรือ 35.41% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 53,716 คน หรือ 31.38% และช่วยธุรกิจครัวเรือน 32,316 คน 18.88% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 5,334 คน หรือ 2.49% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา160,140 คน หรือ 74.74% • เป็นที่น่าสังเกตว่าแรงงานอาชีวะมีเพียง 5,936 คน หรือ 2.77% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมขนส่ง มีสถานประกอบการ 174 แห่ง มีการจ้างงาน 2,040 คน รองลงมาอุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ มีสถานประกอบการ 39 แห่ง มีการจ้างงาน 2,036 คนและอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 33 แห่ง มีการจ้างงาน 2,026 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ
จังหวัดพังงา สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 181 แห่ง (สปช. 167 แห่ง และ สศ. 14 แห่ง) สังกัด เอกชน 11 แห่ง สังกัด กศน. 8 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 4 แห่ง 1.วท.พังงา 2. วษท.พังงา 3. วก.ท้ายเหมือง 4. วก.ตะกั่วป่า • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศใต้ มีเขตติดต่อกับจังหวัดภูเก็ต และทะเล • อันดามัน • ทิศตะวันตก มีเขตติดต่อกับทะเลอันดามัน และ • มหาสมุทรอินเดีย • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 95,042 บาท ต่อปี (อันดับ 4 • ของภาค อันดับ 18 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้สูงที่สุด คือภาคเกษตร • มีมูลการผลิต 52.14 % • อาชีพหลักที่สำคัญของจังหวัด • การทำสวนยาง สวนผลไม้ • ประชากร • จำนวนประชากร 241,442 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 18,773 คน หรือ 11.87% • จำนวนผู้ว่างงาน 2,640คน เป็นชาย 874 คน เป็นหญิง 1,797 คน อัตราการว่างงาน 1.1% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด50,770 คน หรือ 39.98% รองลงมาพนักงานบริการ พนักงานในร้านค้าและตลาด 19,682 คน หรือ 15.50% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ผลิตและจำหน่ายขนมเต้าส้อมุสลิม 2) ผลิตเม็ดมะม่วงหิมพานต์อบกรอบ • 3) การทำเครื่องแกง 4) ทำขนมกาละแม 5) ทำผ้าบาติก 6) ปลูกผักไร้ดิน • 7) ผลิตใบยางพาราทำดอกไม้ยางพารา 8) ผลิตและจำหน่ายขนมกะหรี่ปั๊บ • 9) การเพาะเห็ดนางฟ้า 10) การแปรรูปผลิตภัณฑ์จันเทศ (ที่มา อศจ.พังงา) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 45,122 คน หรือ 35.54% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 40,377 คนหรือ 31.80% และช่วยธุรกิจครัวเรือน 20,844 คน • หรือ 16.42% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 6,615 คน หรือ 5.21% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 86,364 คน หรือ 68.01% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 6,176 คน หรือ 4.86% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมก่อสร้าง มีสถานประกอบการ 99แห่ง มีการจ้างงาน 1,062 คน รองลงมา อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 39 แห่ง มีการจ้างงาน 990 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
จังหวัดภูเก็ต สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 66 แห่ง (สปช. 57 แห่ง และ สศ. 9 แห่ง) สังกัด เอกชน 64 แห่ง สังกัด กศน. 3 แห่ง สังกัด สกอ. 2 แห่ง สาธิต 1 แห่ง สังกัด สอศ. 4 แห่ง 1. วท.ภูเก็ต 2. วท.ถลาง 3. วอศ.ภูเก็ต 4. วช.ภูเก็ต • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • มีสภาพภูมิประเทศเป็นเกาะ และเป็นเกาะที่มี • ขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ตั้งอยู่ทาง • ทิศตะวันตก ของภาคใต้ ในด้านทะเลอันดามัน • มหาสมุทรอินเดีย • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน190,365 บาท ต่อปี (อันดับ 1 • ของภาค อันดับ 9 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้สูงที่สุด จากโรงแรม • และภัตตาคาร มีมูลค่าการผลิต 47.95 % • สินค้าที่มีเชื่อของจังหวัด • ไข่มุกแท้ รายได้หลักของจังหวัดมาจากธุรกิจการ • ท่องเที่ยว • ประชากร • จำนวนประชากร 292,245 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 19,949 คน หรือ 10.27% • จำนวนผู้ว่างงาน 2,259 คน เป็นชาย 1,458 คน เป็นหญิง 802คน อัตราการว่างงาน 1.55% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านพนักงานบริการและพนักงานในร้านค้าสูงที่สุด 52,968 คน หรือ 31.96% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) อาหารไทย – ขนมไทย 2) การตัดผมชาย 3) การเกล้าผมแต่งหน้า • 4) การทำผ้าบาติก 5) โปรแกรมเมอร์ 6) การตกแต่งภาพด้วยคอมพิวเตอร์ • 7) ช่างซ่อมมอเตอร์ไซต์ 8) ช่างวาดภาพคนเหมือน 9) การออกแบบเสื้อผ้าแฟชั่น • 10) การออกแบบเว็บไซต์ (ที่มา อศจ.ภูเก็ต) • ประชากรอายุ 15ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 82,545 คน หรือ 49.81% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 41,749 คนหรือ 25.19% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 4,281 คน หรือ 2.58% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา79,098 คน หรือ 47.72% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 11,489 คน หรือ 6.93% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะและผลิตภัณฑ์ • มีสถานประกอบการ 92 แห่ง มีการจ้างงาน 1,251 คน รองลงมาอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 51 แห่ง มีการจ้างงาน 1,100 คน และอุตสาหกรรมการขนส่ง มีสถานประกอบการ 81 แห่ง มีการจ้างงาน 1,037 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา