170 likes | 545 Views
งานเฝ้าระวังสื่อและตอบโต้สื่อสารความเสี่ยง กรมควบคุมโรค. นาง ศิริ วลัย มณีศรีเดช นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ.
E N D
งานเฝ้าระวังสื่อและตอบโต้สื่อสารความเสี่ยงกรมควบคุมโรคงานเฝ้าระวังสื่อและตอบโต้สื่อสารความเสี่ยงกรมควบคุมโรค นางศิริวลัย มณีศรีเดช นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
จากสถานการณ์อุทกภัยครั้งใหญ่ทั่วประเทศไทยเมื่อ พ.ศ.2554 ได้นำมาสู่การปรับเปลี่ยนสื่อสารเชิงรุก โดยมีการจัดตั้งกลุ่มเฝ้าระวังและตอบโต้สื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ ภายใต้สำนักงานเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ต่อมามีภัยวิกฤติเพิ่มมากขึ้น ผู้บริหารกรมควบคุมโรคได้กำหนดนโยบาย และเล็งเห็นความสำคัญของงานสื่อสารความเสี่ยงที่ดำเนินการเป็นระบบและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
จึงได้ดำเนินการปรับปรุงสำนักงานเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ เป็น สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ โดยคำสั่งที่ 243/2556 เรื่อง ตั้งสำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เป็นการภายใน สังกัดกรมควบคุมโรค สั่ง ณ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2556
สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพสำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
หน้าที่ความรับผิดชอบของสำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพหน้าที่ความรับผิดชอบของสำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
การบริหารงานของสำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพการบริหารงานของสำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพแบ่งส่วนราชการ ดังนี้ 1. กลุ่มบริหารทั่วไป 2. กลุ่มยุทธศาสตร์และพัฒนาองค์กร 3. กลุ่มเฝ้าระวังและตอบโต้ 4. กลุ่มสื่อสารและรณรงค์ 5. กลุ่มพัฒนาพฤติกรรม
กลุ่มเฝ้าระวังสื่อและตอบโต้สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเฝ้าระวังสื่อและตอบโต้สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ มีหน้าที่ - ศึกษา วิเคราะห์ พัฒนารูปแบบการเฝ้าระวังสื่อ ตอบโต้สื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ ที่มีผลกระทบต่อภาพลักษณ์กรมควบคุมโรค - ดำเนินการเฝ้าระวังสื่อ คัดกรองข่าว วิเคราะห์ข่าวสารที่มีผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของกรมควบคุมโรค - จัดหาแหล่งข่าว ประสานสื่อมวลชน จัดทำประเด็นสาร เพื่อสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ และสร้างภาพลักษณ์ของกรมควบคุมโรค - สร้างและพัฒนาภาคีเครือข่ายงานเฝ้าระวังสื่อและตอบโต้อย่างเป็นระบบ รวดเร็ว ทันสถานการณ์ ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค - ปฏิบัติงานอื่นๆตามที่ได้รับมอบหมาย
การบริหารงานของสำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพการบริหารงานของสำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มบริหารทั่วไป กลุ่มยุทธศาสตร์และพัฒนาองค์กร กลุ่มเฝ้าระวังสื่อและตอบโต้ กลุ่มสื่อสารและรณรงค์ กลุ่มพัฒนาพฤติกรรม
งานเฝ้าระวังและตอบโต้การสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพงานเฝ้าระวังและตอบโต้การสื่อสารความเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ งานเฝ้าระวัง งานตอบโต้ จัดทำแผนและประเด็นการสื่อสารความเสี่ยงเพื่อพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ศึกษา วิเคราะห์และสรุปข่าวจากสื่อต่างๆ จัดหาแหล่งข่าวเพื่อสื่อสารข้อมูลด้านการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เฝ้าระวังติดตาม ข่าวสารฯ กำหนดประเด็น เนื้อหา และกลยุทธ์ การตอบโต้ คัดกรองข่าว วิเคราะห์ข่าว จัดลำดับความเสี่ยงของข่าว ดำเนินการตอบโต้ข่าวสารผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ สร้างและพัฒนาภาคีเครือข่ายการเฝ้าระวังและตอบโต้ข่าวสารความเสี่ยง ประเมินผลการดำเนินงานเฝ้าระวังและสื่อสารความเสี่ยง
แผนผังการจัดการข้อมูลข่าวสารที่มีความเสี่ยงสูงอย่างครบวงจรแผนผังการจัดการข้อมูลข่าวสารที่มีความเสี่ยงสูงอย่างครบวงจร Media Watch คัดกรองข่าวสารข้อมูล แหล่งข่าว พยากรณ์โรค ข่าวลือ Call Center ข้อมูลที่มีความเสี่ยงสูง* ไม่ใช่ ดำเนินการตามระบบปกติ ใช่ ตรวจสอบข้อมูลผู้ประสานหลักของแต่ละสำนัก จัดทำสาระสำคัญ เช่น ข่าวกรอง.ประเด็นแถลงข่าว (เพื่อการประชาสัมพันธ์/เพื่อการดำเนินการป้องกันควบคุมโรค) สำนักวิชาการต่างๆ จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ สำนักสื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ/ส.วิชาการ ตรวจทานสาระสำคัญ ผอ./ผู้ที่ได้รับมอบหมายแต่ละสำนัก กรณีไม่ซับซ้อน กรณีซับซ้อน กระบวนการต่อไปกรณีซับซ้อน
กรณีซับซ้อน วางแผนประชาสัมพันธ์อย่างเป็นขั้นตอน คณะทำงานฯ** ตรวจสอบข้อมูลผู้ประสานหลักของแต่ละสำนัก ผู้บริหาร ดำเนินการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สนง.สื่อสารความเสี่ยงและพัฒนาพฤติกรรมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ส.วิชาการต่างๆ,ส.สารนิเทศ,โฆษกกรมและโฆษกกระทรวง) ปรับการวางแผนประชาสัมพันธ์อย่างเป็นขั้นตอนตามความเห็นชอบของกรมควบคุมโรค คณะทำงานฯ** หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง(ส.วิชาการต่างๆ,ส.สารนิเทศ,โฆษกกรมและโฆษกกระทรวง) ประชาสัมพันธ์ต่างช่องทางต่างๆ แจ้ง Call Center กรณีไม่ซับซ้อน ติดตามผลกระทบ คณะทำงานฯ** กรณีซับซ้อน ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค ผู้บริหารกรม ปรับกลยุทธ์ในการสื่อสาร คณะทำงานฯ** พิจารณาเปิด Operation center สรต.(PHER)/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการตามขั้นตอน รายงานผล การดำเนินการ
องค์ประกอบการสื่อสารความเสี่ยง : “สารและสื่อ” • ประเภทข้อความ • ข้อความเตือน • ข้อความสร้างความกลัว • ข้อความให้ตีความ • ข้อความสอนการปฏิบัติตน • ข้อความสร้างการรับรู้ • ข้อความที่แก้ไขความเข้าใจผิด • ความกังวล • ความคาดหวัง • ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม • รูปแบบการดำเนินชีวิต • ระยะของสถานการณ์ • ระยะเตรียมตัว • ระยะตอบโต้ • ระยะฟื้นฟู • ระยะเตรียมตัว • ตรวจตราสิ่งแวดล้อม • ติดตามประเด็น • จัดการประเด็น • วางแผนรับมือวิกฤต • ประเภทสื่อ • สื่อบุคคล • สื่อมวลชน • สื่อเฉพาะกิจ • ข้อควรคำนึง • กลุ่มผู้รับสาร ช่วงเวลา • บรรยากาศแวดล้อม ทักษะที่จำเป็น • พฤติกรรมการรับสาร • ความสมบูรณ์ของสารเวลา ปฏิกิริยา โอกาสเปิดรับความเร็วในการเข้าถึง • ระยะตอบโต้ • ส่งเสริมให้มีความตระหนักและเข้าใจ • ส่งเสริมเกิดความเชื่อมั่นและไว้วางใจ • ส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการความเสี่ยง • ประเภทกลุ่มเป้าหมาย • - หน่วยงานรัฐอื่นๆ • ผู้นำชุมชน • ประชาชน ลักษณะการนำเสนอ คำขวัญหรือสโลแกน คำย่อ คำอุปมาอุปไมย คำสั้นๆง่ายๆ คำแทน เลียนแบบคำอื่น ประโยคถาม-ตอบ กระตุ้นให้รีบปฏิบัติ ทิ้งท้ายให้คิดเอง ใช้คำพ้องเสียง • ระยะฟื้นฟู • สำรวจความพึงพอใจ • ฟื้นฟูภาพลักษณ์ ภาพประกอบ สร้างอารมณ์ร่วมให้เกิดการเปิดรับสาร กลยุทธ์สื่อ
Monitor and Response in Risk Communication (MRRC) ขอบคุณค่ะ