950 likes | 2.33k Views
สันติวัฒนธรรม. ดร.เพิ่มศักดิ์ มกราภิรมย์ สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล พฤษภาคม ๒๕๕๕. แนวการบรรยาย. ความหมายความเข้าใจ แนวคิด การวิเคราะห์ความแตกต่างทางวัฒนธรรม การจัดการแปลงเปลี่ยนความรุนแรงทางวัฒนธรรม การสร้างสันติวัฒนธรรม. วัฒนธรรม : ความหมาย.
E N D
สันติวัฒนธรรม ดร.เพิ่มศักดิ์ มกราภิรมย์ สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล พฤษภาคม ๒๕๕๕
แนวการบรรยาย • ความหมายความเข้าใจ • แนวคิด • การวิเคราะห์ความแตกต่างทางวัฒนธรรม • การจัดการแปลงเปลี่ยนความรุนแรงทางวัฒนธรรม • การสร้างสันติวัฒนธรรม
วัฒนธรรม : ความหมาย “รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน”
วัฒนธรรม : การแสดงออก วัฒนธรรมสามารถแสดงออกผ่านช่องทางต่างๆ อาทิ ดนตรีวรรณกรรมจิตรกรรมประติมากรรมการละครและภาพยนตร์ ทั้งยังรวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคม และแนวการปฏิบัติที่ทำให้วัตถุและกระบวนการผลิตหลอมรวมอยู่ด้วยกัน ซึ่งรวมไปถึงเทคโนโลยีศิลปะวิทยาศาสตร์ รวมทั้งระบบศีลธรรม
วัฒนธรรม : จัดกลุ่มตามประเภท • วัฒนธรรมทางวัตถุ คือ เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่มนุษย์ใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อความสุขทางกาย อันได้แก่ ยานพาหนะ ที่อยู่อาศัย ตลอดจนเครื่องป้องกันตัวให้รอดพ้นจากอันตรายทั้งปวง • วัฒนธรรมทางจิตใจ เป็นเรื่องเกี่ยวกับเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของมนุษย์ เพื่อให้เกิดปัญญาและมีจิตใจที่งดงาม อันได้แก่ ศาสนาศีลธรรมจริยธรรม คติธรรม ตลอดจนศิลปะวรรณคดี และระเบียบแบบแผนของขนบธรรมเนียมประเพณี
วัฒนธรรมคุ้มครองดูแลทรัพยากรโดยชุมชนวัฒนธรรมคุ้มครองดูแลทรัพยากรโดยชุมชน
วัฒนธรรมการใช้ประโยชน์ทรัพยากรโดยภูมิปัญญาชุมชนวัฒนธรรมการใช้ประโยชน์ทรัพยากรโดยภูมิปัญญาชุมชน
วัฒนธรรมร่วมมือร่วมใจจัดการทรัพยากรของชุมชนวัฒนธรรมร่วมมือร่วมใจจัดการทรัพยากรของชุมชน
วัฒนธรรมอยู่กับป่า เก็บผักผลไม้จากบนเขาภาคใต้ วัฒนธรรมอีสาน หาอยู่หากิน เก็บเห็ด หน่อไม้ ผักจากป่า
ปัจจัยที่สามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและการต่อต้านทางวัฒนธรรมปัจจัยที่สามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและการต่อต้านทางวัฒนธรรม • ปฏิสัมพันธ์หรือแรงผลักดันใน บ้าน/ที่ทำงาน • การติดต่อสื่อสารกันระหว่างกลุ่มสังคม • การเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมทางธรรมชาติ
สันติวิธี • วิธีการที่ไม่ใช้ความรุนแรง
เป็นสภาวการณ์ของคุณค่า ทัศนคติ พฤติกรรม และวิถีชีวิต ที่ไม่ใช้ความรุนแรง ความใกล้ชิดกลมกลืนกันของอัตลักษณ์ ทัศนคติ คุณค่า ความเชื่อ และแบบแผนการปฏิบัติในการใช้ชีวิต และความต้องการพื้นที่อิสระเฉพาะตัวของแต่ละบุคคลในสังคมนั้นๆ การป้องกันจัดการความขัดแย้งด้วยวิธีการคลี่คลายเหตุปัจจัยของปัญหาโดยไม่เผชิญหน้า เป็นภูมิคุ้มกันไม่ให้ใช้ความรุนแรง ลักษณะบางประการที่สะท้อนความเป็น สันติวัฒนธรรม
ตัวบ่งชี้สังคมที่มีสันติวัฒนธรรมตัวบ่งชี้สังคมที่มีสันติวัฒนธรรม • สิทธิมนุษยชนเท่าเทียม • การศึกษาที่เท่าทัน • การพัฒนาที่มีส่วนร่วม • การมีส่วนร่วมกับกระบวนการปกครองระบอบประชาธิปไตย/ธรรมาภิบาล • ความเท่าเทียมทางเพศสภาพ ชนชั้น เชื้อชาติ ศาสนา • การมีอิสระ/เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นต่อสาธารณะ • ความทนกันได้/ความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน • ระบบความมั่นคงปลอดภัยของสังคม • ความสมบูรณ์ของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
คำถาม ๑ สันติวัฒนธรรมคืออะไร?
สรุปความหมาย สันติวัฒนธรรมคือวัฒนธรรมการดำรงชีวิตร่วมกันด้วยความเมตตากรุณา บนหลักการพื้นฐานการดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขโดยมีขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามที่ช่วยให้สังคมมนุษย์ประพฤติปฏิบัติตามหน้าที่ต่อกันและกันโดยปราศจากความรุนแรงแล้วนำไปสู่ชีวิตที่สงบสุข มีความเจริญงอกงามทั้งภายนอกและภายในของความเป็นมนุษย์
ความหมาย สันติวัฒนธรรมเป็นสภาวะที่มีความสมดุลกลมกลืนกันของอัตลักษณ์ ทัศนคติ คุณค่า ความเชื่อ และแบบแผนการปฏิบัติในการใช้ชีวิต และความต้องการพื้นที่อิสระเฉพาะตัวของแต่ละบุคคลในสังคมนั้นๆ
คำถาม ๒ ลักษณะทางสังคม/วัฒนธรรมของไทยอะไรบ้างที่บ่งบอก - ความเป็นสันติวิธี - ความไม่เป็นสันติวิธี
คำถาม ๓ • ประเทศไทยมีสันติวัฒนธรรมหรือไม่ เพราะเหตุใด?
แนวคิด/หลักการสันติวัฒนธรรมแนวคิด/หลักการสันติวัฒนธรรม • สันติวัฒนธรรมเป็นวัฒนธรรมการดำรงชีวิตร่วมกันด้วยความเมตตากรุณา โดยมีขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามช่วยให้สังคมมนุษย์ประพฤติปฏิบัติตามหน้าที่ต่อกันและกันโดยปราศจากความรุนแรงแล้วนำไปสู่ชีวิตที่สงบสุข มีความเจริญงอกงามทั้งภายนอกและภายในของความเป็นมนุษย์
การแสดงออกทางวัฒนธรรมที่สำคัญบางประการการแสดงออกทางวัฒนธรรมที่สำคัญบางประการ • - ชาติพันธุ์ • - ภาษา • - การแต่งกาย • - การกินอยู่ • - ความเชื่อ/ศาสนา • - เพศ วัย • การศึกษา • ศิลปะ • ฯลฯ • .
อคติ ที่ส่งผลต่อการรับรู้ถึงความแตกต่างทางวัฒนธรรม ๔ ประการ • ความรัก- ความโกรธ • ความกลัว • ความเขลา
ทำไมมีอคติแบบต่างๆ อกุศลมูล - อคติอันเนื่องจากความรัก- อคติอันเนื่องจากความโกรธ - อคติอันเนื่องจากความกลัว - อคติอันเนื่องจากความเขลา โลภ โกรธ หลง
เหตุปัจจัยรากเหง้าของการเกิดอกุศลมูลและอคติเหตุปัจจัยรากเหง้าของการเกิดอกุศลมูลและอคติ อกุศลมูล • อคติ • รัก-โกรธ • กลัว • เขลา รากเหง้าอกุศล การยึดมั่นถือมั่น โลภ โกรธ หลง
การแสดงออกของอคติต่อสรรพสิ่ง อคติ อกุศลมูล การยึดมั่นถือมั่น - รัก-โกรธ - กลัว - เขลา สำนึก(ความรู้สึกซาบซึ้ง) คุณค่า(สิ่งที่เป็นประโยชน์) ทัศนคติ(ความคิดเห็น) โลภ โกรธ หลง
อคติที่มีต่อการแสดงออกทางวัฒนธรรมอคติที่มีต่อการแสดงออกทางวัฒนธรรม • - ชาติพันธุ์ • - ภาษา • - การแต่งกาย • - การกินอยู่ • - ความเชื่อ/ ศาสนา • - เพศ วัย • การศึกษา • ศิลปะ • ฯลฯ สำนึก(รู้สึกซาบซึ้ง) คุณค่า(สิ่งที่เป็นประโยชน์) ทัศนคติ(ความคิดเห็น) อคติ - รัก-โกรธ - กลัว - เขลา
สภาวะ/กลไกสังคม สันติวัฒนธรรม -อิสระต่อกัน -ร่วมมือ -ช่วยเหลือกัน-ไม่เอาเปรียบ ฯลฯ ประเด็นฯ -ชาติพันธุ์ -ภาษา -การแต่งกาย -การกินอยู่ -ความเชื่อ/ ศาสนา -การศึกษา-ศิลปะ ฯลฯ ไม่สันติ -เอาเปรียบ-กำจัด-กดขี่ -หลบหลีก -ต่อสู้ป้องกัน ฯลฯ เสมอกัน สูงกว่า ต่ำกว่า อกุศลมูล การยึดมั่นถือมั่น อคติ สำนึก(รู้สึกซาบซึ้ง) คุณค่า(สิ่งที่เป็นประโยชน์) ทัศนคติ(ความคิดเห็น) โลภ โกรธ หลง รักโกรธกลัวเขลา ความเคารพ ความทนกันได้ การให้อภัย ฯลฯ
การพัฒนาจิตสำนึกร่วม การจัดการเชิงสัญญลักษณ์ การจัดความสัมพันธ์ การพัฒนาภายในตน (ศีล สมาธิ ปัญญา) สันติวัฒนธรรม -อิสระต่อกัน -ร่วมมือ -ช่วยเหลือกัน-ไม่เอาเปรียบ ฯลฯ ประเด็นฯ -ชาติพันธุ์ -ภาษา -การแต่งกาย -การกินอยู่ -ความเชื่อ/ ศาสนา -การศึกษา-ศิลปะ ฯลฯ ไม่สันติ/รุนแรง -เอาเปรียบ-กำจัด-กดขี่ -หลบหลีก -ต่อสู้ป้องกัน ฯลฯ เสมอกัน สูงกว่า ต่ำกว่า การยึดมั่นถือมั่น อกุศลมูล อคติ-รัก-โกรธ-กลัว-เขลา สำนึก(รู้สึกซาบซึ้ง) คุณค่า(สิ่งที่เป็นประโยชน์) ทัศนคติ(ความคิดเห็น) โลภ โกรธ หลง ความเคารพ ความทนกันได้ การให้อภัย ฯลฯ
สังคมเป็นธรรม/สงบ/สุข เหลื่อมล้ำ/รุนแรง/ทุกข์ สังคมเป็นธรรม/สงบ/สุข เหลื่อมล้ำ/รุนแรง/ทุกข์ การพัฒนาจิตสำนึกร่วม การจัดการเชิงสัญญลักษณ์ การจัดความสัมพันธ์ การพัฒนาภายในตน (ศีล สมาธิ ปัญญา) สันติวัฒนธรรม -อิสระต่อกัน -ร่วมมือ -ช่วยเหลือกัน-ไม่เอาเปรียบ ฯลฯ ประเด็นฯ -ชาติพันธุ์ -ภาษา -การแต่งกาย -การกินอยู่ -ความเชื่อ/ ศาสนา -การศึกษา-ศิลปะ ฯลฯ ไม่สันติ/รุนแรง -เอาเปรียบ-กำจัด-กดขี่ -หลบหลีก -ต่อสู้ป้องกัน ฯลฯ เสมอกัน สูงกว่า ต่ำกว่า การยึดมั่นถือมั่น อกุศลมูล อคติ-รัก-โกรธ-กลัว-เขลา สำนึก(รู้สึกซาบซึ้ง) คุณค่า(สิ่งที่เป็นประโยชน์) ทัศนคติ(ความคิดเห็น) โลภ โกรธ หลง ความเคารพ ความทนกันได้ การให้อภัย ฯลฯ
การสร้างสันติวัฒนธรรมการสร้างสันติวัฒนธรรม • ความทุกข์และปัญหาของมนุษย์ในภาพกว้าง • ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ • ความขัดแย้งทางอุดมการณ์ • ความขัดแย้งเชื้อชาติ ศาสนา ผิว • ปัญหาการก่อการร้าย • ปัญหาธรรมชาติและสภาพแวดล้อม • ความอดอยากหิวโหย
การพัฒนาที่ไม่สมดุลกับหายนะภัยที่ยิ่งมากขึ้นการพัฒนาที่ไม่สมดุลกับหายนะภัยที่ยิ่งมากขึ้น • ความเจริญก้าวหน้าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ขาดความรับผิดชอบต่อสังคม • การค้าเสรีที่ขาดความสำนึกต่อเกษตรกรรายย่อย • ประชาธิปไตยแบบตัวแทนที่ขาดการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันของประชาชน
รากฐานอารยธรรมมนุษยชาติรากฐานอารยธรรมมนุษยชาติ • อารยธรรมที่ขับเคลื่อนโลกาภิวัฒน์ แยกมนุษย์ออกจากธรรมชาติ อยู่เหนือธรรมชาติ มนุษย์สามารถจัดการธรรมชาติได้
รากฐานความคิดสุดขั้วที่ขับเคลื่อนโลกาภิวัฒน์รากฐานความคิดสุดขั้วที่ขับเคลื่อนโลกาภิวัฒน์ • วัตถุนิยม • บริโภคนิยม • วิทยาศาสตร์ • อุตสาหกรรม
แรงจูงใจสู่ปฏิบัติการแรงจูงใจสู่ปฏิบัติการ • ตัณหา ความอยากในผลประโยชน์ • มานะ ความทะนงตนในอำนาจ ความยิ่งใหญ่ • ทิฐิ ความหลงในลัทธิ ความเห็น อุดมการณ์ ศาสนา
ปัจจัยเอื้ออำนวยให้เกิดวัฒนธรรมสันติวิธีปัจจัยเอื้ออำนวยให้เกิดวัฒนธรรมสันติวิธี • ความจำเป็นพื้นฐานได้รับการตอบสนอง • การมีทัศนคติและมาตรฐานร่วมกันในเรื่องของความยุติธรรม • กระบวนการยุติธรรมต้องปฏิบัติได้จริง • การพัฒนาความคิดใหม่ๆให้สอดคล้องกับสถานการณ์
คำถาม จะสร้างสันติวัฒนธรรมในสังคมไทยได้อย่างไร?
แนวคิดการสร้างสันติวัฒนธรรม ด้วยการศึกษาฝึกฝนและการปฏิบัติเพื่อนำไปสู่อิสรภาพและความสุข • สร้างความสัมพันธ์กับธรรมชาติ • สร้างความสัมพันธ์กับเพื่อนมนุษย์ • สร้างอิสรภาพในชีวิตตัวเอง
แนวทางการสร้างสันติวัฒนธรรมแนวทางการสร้างสันติวัฒนธรรม • การศึกษา • การปฏิบัติ
การศึกษาเพื่อพัฒนาอิสรภาพและความสุขการศึกษาเพื่อพัฒนาอิสรภาพและความสุข • ฝึกฝนและพัฒนาพฤติกรรมภายนอก • ฝึกฝนและพัฒนาจิตใจและค่านิยม • ฝึกฝนและพัฒนาความรู้ความเข้าใจ เกิดสติปัญญา
ข้อพิจารณาในการสร้างสันติวัฒนธรรมในระดับสถาบันข้อพิจารณาในการสร้างสันติวัฒนธรรมในระดับสถาบัน • ต้องทราบสถานการณ์และปัญหาความขัดแย้งและความรุนแรง และความต้องการในการแก้ไขปัญหาของสถาบันการศึกษา • ต้องมีวิสัยทัศน์ นโยบายและทิศทางการทำงานที่ชัดเจน • กำหนดบทบาทภารกิจและอำนาจหน้าที่เพื่อขับเคลื่อนภารกิจให้บรรลุผลสำเร็จ • มีแนวทาง มาตรการ แผนงาน งบประมาณและบุคลากรสนับสนุน • มีกลไกการติดตามเพื่อประเมินผลและให้การสนับสนุนการทำงานให้เหมาะสม • ผู้บริหารสถาบันจะต้องมีความเชื่อมั่น/อุดมการณ์สันติวิธีและสันติวัฒนธรรม ว่าจะนำไปสู่การระงับข้อพิพาทรุนแรงได้
สรุป • สันติวัฒนธรรมมีองค์ประกอบทั้งภายในและภายนอก ภายในได้แก่ทัศนคติความคิดความเชื่อ และภายนอกได้แก่แบบแผนการใช้พฤติกรรมไปปฏิสัมพันธ์กัน • สันติวัฒนธรรมเป็นภูมิคุ้มกันไม่ให้ใช้ความรุนแรง ด้วยการ - ยอมรับคุณค่าความเป็นมนุษย์เสมอกัน ไม่มองคนอื่นเป็นศัตรู จึงไม่ทำร้าย ไม่ใช้ความรุนแรง - ให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับความรุนแรงและผลกระทบ ของความรุนแรงต่อสังคม - คุ้มครองและดูแลสิทธิของเหยื่อหรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรง - ปกป้องผู้บริสุทธิ์ให้พ้นจากความรุนแรง
สรุป - ต่อ - • สันติวัฒนธรรมในยุคปัจจุบันจึงต้องเป็นวัฒนธรรมที่ช่วยให้องค์ประกอบของสรรพสิ่งสมดุล คนอยู่ได้อย่างมีความสุขจากอิสรภาพ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เกื้อกูล และกตัญญูต่อสรรพสิ่งที่เอื้อต่อชีวิต • กระบวนการสร้างสันติวัฒนธรรม จึงต้องสร้างการยอมรับในคุณค่าความเป็นมนุษย์เสมอกัน ไม่มองคนอื่นเป็นศัตรู ให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับความรุนแรงและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับสังคมจากการใช้ความรุนแรง มีการคุ้มครองและดูแลสิทธิของเหยื่อหรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรง และการปกป้องผู้บริสุทธิ์
สรุป - ต่อ - • การสร้างสันติวัฒนธรรมหรือการแปลงเปลี่ยนความรุนแรงมาเป็นความสงบสุขด้วยสันติวิธีจึงขึ้นอยู่กับตัวเราเองเป็นสำคัญ ทุกคนสามารถทำได้ด้วยตัวเองทันทีไม่ต้องรอให้ใครมาช่วยหรือร้องขอ สันติวัฒนธรรมเริ่มขึ้นจากภายในของตน ด้วยการสะสมความดี บุญบารมี ค้นหาพลังอำนาจในตัวเอง ในครอบครัว ในชุมชน และขยายผลเป็นสันติวัฒนธรรมของสังคมทุกระดับชั้น