130 likes | 266 Views
ความก้าวหน้าในการดำเนินงานโครงการฯ. ( ตุลาคม 2552 – ธันวาคม 2552). ความก้าวหน้า (Q2) :. จัดประชุมชี้แจงโครงการฯ เพื่อหาแนวทางการทำงานร่วมกับ PR-DDC,BTB,SSR และหน่วยงานระดับพื้นที่ 4 ครั้ง ดังนี้ FAR- จ.ระยอง ( 13 ตุลาคม 2552) บ้านสุขสันต์ – จ.สงขลา ( 20 ตุลาคม 2552 )
E N D
ความก้าวหน้าในการดำเนินงานโครงการฯความก้าวหน้าในการดำเนินงานโครงการฯ (ตุลาคม 2552 – ธันวาคม 2552)
ความก้าวหน้า (Q2) : • จัดประชุมชี้แจงโครงการฯ เพื่อหาแนวทางการทำงานร่วมกับ PR-DDC,BTB,SSR และหน่วยงานระดับพื้นที่ 4 ครั้ง ดังนี้ • FAR-จ.ระยอง (13 ตุลาคม 2552) • บ้านสุขสันต์ – จ.สงขลา (20 ตุลาคม 2552) • AIDSNET- จ.ขอนแก่น (29 ตุลาคม 2552) • RTF- จ.พะเยา (3 ธันวาคม 2552) • ประชุมติดตามความก้าวหน้าในการทำงานและ M&Eร่วมกับภาคีองค์กรเอกชน 1 ครั้ง (5-6 พฤศจิกายน 2552) • จัดประชุมหารือเพื่อเตรียมการจัดงาน “วันวัณโรคโลก ปี 2553” ร่วมกับ PR-DDC,BTB,PHI,SSR (1) ครั้ง (27 พฤศจิกายน 2552)
Theme: Innovation: “นวัตกรรมสู่เส้นทางเร่งรัดขจัดภัยวัณโรค” • Slogan: On the move against tuberculosis Innovate to accelerate action “คุณหาย เราปลอดภัย ภาคีร่วมใจ เพื่อสุขอนามัยของชุมชน” “คุณหาย เราปลอดภัย ภาคีร่วมใจ ชนะภัยวัณโรค” “คุณหาย เราปลอดภัย ภาคีร่วมใจ ใส่ใจกินยาทุกวัน” “ทุกคนปลอดภัย ร่วมใจ รวมพลัง หยุดยั้งวัณโรค ”
Message: • ประเทศไทยยังเปน็น 1 ใน 22 ประเทศที่วัณโรคยังเป็นปัญหารุนแรง • มีผู้ป่วยรายใหม่ปีละประมาณ 90,000 ราย ครึ่งหนึ่งเป็นวัณโรคระยะแพร่เชื้อ • ประเทศไทยมีแนวโน้มที่จะเป็น 1 ใน 27 ประเทศ ที่มีปัญหาวัณโรคดื้อยาหลายขนานและวัณโรคดื้อยารุนแรง • แรงงานข้ามชาติและกลุ่มด้อยโอกาสป่วยเป็นวัณโรคไม่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขของประเทศไทยได้อย่างทั่วถึง • ปัญหาการติดเชื้อเอชไอวียังอยู่ในระดับสูงซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อผู้ป่วยวัณโรค จำนวนผู้ป่วยวัณโรคเพิ่มขึ้น
Message: • ผลสำเร็จของการรักษายังไม่ถึงเป้าหมายขององค์การอนามัยโลก • การมีส่วนร่วมของชุมชนในการค้นหาและรักษาผู้ป่วยวัณโรคมีความสำคัญ • การมีส่วนร่วมของภาคเอกชนและภาคประชาสังคม ช่วยเติมเต็มการควบคุมวัณโรคของประเทศไทย • องค์ความรู้ใหม่ๆ ในการวินิจฉัยวัณโรคมีความจำเป็น วัคซีนใหม่ เพื่อใช้ทดแทนหรือเสริมประสิทธิภาพของวัคซีน BCG ยาใหม่ เพื่อลดระยะเวลาการรักษาให้สั้นลง ตลอดจนการรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน ถือเป็นความจำเป็นเร่งด่วน • เด็กมีโอกาสป่วยเป็นวัณโรคและเสียชีวิตง่าย • การเลือกปฏิบัติและการลดการรังเกียจต่อผู้ป่วยวัณโรคยังคงเป็นปัญหา
กิจกรรมรณรงค์ “วันวัณโรคโลก ปี 2553” • รูปแบบกิจกรรมหลักฯ ได้แก่ • ส่วนกลาง ได้แก่ประกวดหนังสั้น,จัดทำหนังสารคดี , Media Field Trip, Media Training (สัมมนาสื่อ) • ส่วนภูมิภาค ได้แก่ การจัดกิจกรรมรณรงค์ระดับพื้นที่ เช่น สคร. 12 เขต ,สสจ,รพ.ของรัฐ และหน่วยงานเอกชนที่เข้าร่วมโครงการฯ
ความก้าวหน้า (Q2) : (ต่อ) • เข้าร่วมประชุมจัดทำ Comprehensive M&E Plan for TB control in Thailand (ระหว่างวันที่ 15-17 ธ.ค. 52) • เข้าร่วมประชุมนิเทศติดตามงานด้านวัณโรค (Integrate M&E ) (GF6 & GF8) แบบบูรณาการ สคร. 7 จ.อุบลราชธานี (18 ธ.ค. 52) • จัดซื้อตลับเสมหะ (9,000 ชิ้น) ,หน้ากากอนามัยแบบ 3 ชั้น (24,000 ชั้น) และหน้ากากอนามัยแบบ N-95 (100 ชิ้น) สนับสนุนการดำเนินโครงการให้กับ 11 จังหวัด • จัดทำสัญญากับผู้รับทุนหลัก (เซ็นสัญญาแล้วปลายเดือน ก.ย. 52) • จัดทำสัญญากับผู้รับทุนย่อย (เซ็นสัญญาไปบางส่วนแล้ว คาดว่าจะแล้วเสร็จ ปลายเดือน ธ.ค. 52)
ความก้าวหน้า (Q2) : (ต่อ) • ประสานงานองค์กรอนามัยโลก เพื่อจัดหาที่ปรึกษา ในการทำ KAP Survey (ประสาน WHO แต่ยังไม่ได้รับการตอบกลับ)
แผนงาน (1) • เตรียมการจัดทำการสำรวจข้อมูลพื้นฐานม.ค.2552(วางแผน-Q3) • ขอสนับสนุนด้านวิชาการจาก WHO (โดยขอให้ PR-DDC ทำหนังสือถึง WHO) • เตรียมร่างกรอบการปฏิบัติงานและกระบวนการจัดหาที่ปรึกษา TORในการเก็บข้อมูล KAP (ปรึกษาในที่ประชุม 28ธ.ค. 52) • ประชุมร่วมกับสำนักประชาสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค เพื่อร่วมวางแผนการจัดกิจกรรมรณรงค์ “วันวัณโรคโลก ปี 2553) (หลังปีใหม่ รอ confirm วันประชุมกับสำนักวัณโรค)
แผนงาน (2) • จัดประชุมเพื่อพัฒนาหลักสูตรสำหรับผู้แทนวัณโรคระดับตำบล (ม.ค. 2552) • ผลิตสื่อความรู้และเครื่องมือการปฏิบัติงาน (Q3) • ได้รับต้นฉบับ “คู่มือบันทึกสุขภาพ” จากสำนักวัณโรค ช่วงปลาย พ.ย. 52 ดำเนินการส่งแปล 3 ภาษา (พม่า,ลาว และกัมพูชา) อยู่ระหว่างการแก้ไข และจัดพิมพ์ • สมุดบันทึกประจำผู้ป่วยวัณโรค “Health Diary” ดำเนินการส่งแปล 3 ภาษา พม่า,ลาว และกัมพูชา) อยู่ระหว่างการแก้ไข และจัดพิมพ์ • คูปอง แปล 3 ภาษา (พม่า,ลาว และกัมพูชา) อยู่ระหว่างการจัดพิมพ์ • TB Patient Charterแปลภาษา พม่า กัมพูชา ลาว • แบบฟอร์มเก็บข้อมูล อยู่ระหว่างการแก้ไขทดลองใช้งาน (11 จังหวัด) • คู่มือการปฏิบัติงานโครงการฯ ปรับแก้ไข “บทบาทหน้าที่หน่วยงานฯ” แล้ว (ซึ่งจะนำรวมเข้ากับคู่มือการดำเนินโครงการฯ ของ BTB เพื่อจัดพิมพ์)
แผนงาน (3) • ประชุมชี้แจงโครงการฯ เพื่อหาแนวทางการทำงานร่วมกับ PR-DDC,BTB,SSR ในพื้นที่ (พร้อมติดตามความก้าวหน้าในการทำงาน) ได้แก่ WVFT (นนทบุรี),PDA(พิษณุโลก,นครราชสีมา) และ Plan (เชียงรายและศรีษะเกษ) ช่วงเดือน ม.ค. – มี.ค. 2552
ปัญหา-อุปสรรค • องค์กร IOM ปฏิเสธการเข้าร่วมโครงการ เนื่องจากระบบการบริหารจัดการภายในขององค์กร (แก้ไขโดย : Plan ดำเนินการแทน ในพื้นที่ จ.เชียงราย ทั้ง 6 อำเภอ และมูลนิธิรักษ์ไทย ดำเนินการแทนใน จ.สมุทรสาคร • ในกรณีแรงงานข้ามชาติ ตรวจสุขภาพแล้ว พบว่าเป็นวัณโรค ระยะแพร่เชื้อ จะถูกส่งกลับ ทำให้ไม่ได้รับการรักษา
ยินดีสำหรับทุกคำแนะนำยินดีสำหรับทุกคำแนะนำ ขอบคุณค่ะ