410 likes | 747 Views
การจัดการความรู้ระดับจังหวัด เพื่อการธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA ( Provincial KM ) ณ จังหวัดนครสวรรค์ 28 – 29 พฤษภาคม 2555. ผ่อนคลาย สบาย ๆ. ความรู้สึกต่อสิ่งที่ท่านได้เห็น. กลอน กลอนไฮกุ หรือ อื่น ๆ เพื่อสะท้อนสิ่งที่ได้รับรู้. โรงพยาบาลที่เข้าร่วม Provincial KM. โรงพยาบาลโกรกพระ
E N D
การจัดการความรู้ระดับจังหวัดเพื่อการธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA(Provincial KM)ณ จังหวัดนครสวรรค์ 28 – 29 พฤษภาคม 2555
ความรู้สึกต่อสิ่งที่ท่านได้เห็น • กลอน • กลอนไฮกุ • หรือ อื่น ๆ เพื่อสะท้อนสิ่งที่ได้รับรู้
โรงพยาบาลที่เข้าร่วมProvincial KM • โรงพยาบาลโกรกพระ • โรงพยาบาลชุมแสง • โรงพยาบาลเก้าเลี้ยว • โรงพยาบาลไพศาลี • โรงพยาบาลพยุหะคีรี • โรงพยาบาลตากฟ้า • โรงพยาบาลแม่วงก์ • โรงพยาบาลตาคลี (RS) • โรงพยาบาลหนองบัว • โรงพยาบาลบรรพตพิสัย • โรงพยาบาลท่าตะโก • โรงพยาบาลลาดยาว • โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 8 • โรงพยาบาลค่ายจิรประวัติ
กิจกรรม • Check in คนที่มา คือ คนที่ใช่
กิจกรรม • ให้แต่ละโรงพยาบาล เล่าเรื่อง ความประทับใจ ความก้าวหน้า หรือ สิ่งที่อยากบอกเพื่อน สิ่งที่อยากบอก สรพ. เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพที่ผ่านมา
ผู้บริหาร แนะนำโครงการ
ทบทวนสิ่งที่ได้ศึกษาและประเมินตนเองทบทวนสิ่งที่ได้ศึกษาและประเมินตนเอง จากเครื่องมือ provincial KM • ทำอย่างไร ? ** เพื่อเจาะลึกในประเด็นที่คุยเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งที่ทำ** กำหนดประเด็น 1.ที่อยากแบ่งปัน หรือโดดเด่นที่อยากบอก 2 ประเด็น 2.เรื่องราวที่อยากให้เพื่อนช่วย 2 ประเด็น พร้อมกับฝากเพื่อนใน 2 ประเด็นในหัวข้อที่เราจะคุยกัน ในวันนี้
ที่มาและความคาดหวังของสถาบันในการดำเนินการโครงการ Provincial KM
Provincial KM เพื่อการธำรงบันไดขั้นที่สองสู่ HA เป็นการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับสถานพยาบาลที่นำกระบวนการ HA ไปใช้ในการพัฒนา โดยเน้นเนื้อหาสำหรับระดับการพัฒนาของสถานพยาบาลส่วนใหญ่ คือสถานพยาบาลที่ได้รับการรับรองในบันไดขั้นที่สองสู่ HA และกำลังจะพัฒนาสู่การรับรอง HA หรือธำรงบันไดขั้นที่สองไว้
กลุ่มเป้าหมาย • สถานพยาบาลที่ยังไม่ได้รับการรับรองในบันไดขั้นที่สองสู่ HA จะเห็นแนวทางในการพัฒนาเพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อการประเมินบันไดขั้นที่สองสู่ HA ได้ชัดเจนขึ้น • สถานพยาบาลที่ได้รับการรับรองในบันไดขั้นที่สองสู่ HA จะเห็นแนวทางในการพัฒนาต่อเนื่องสู่การรับรอง HA • สถานพยาบาลของรัฐที่ได้รับกิตติกรรมประกาศบันไดขั้นที่สองสู่ HA ซึ่งมีจำนวนเตียงที่เปิดดำเนินการจริงไม่เกิน 120 เตียง จะได้รับสิทธิในการธำรงบันไดขั้นที่สองสู่ HA โดยอัตโนมัติ ภายใต้ระบบการสุ่มเยี่ยมที่อาจเกิดขึ้นเมื่อใดก็ได้ • สถานพยาบาลที่ได้รับ HA แล้ว ได้ทบทวนตนเอง ได้เชื่อมโยงเครือข่ายและมีโอกาสเชื่อมโยงระบบให้ไร้รอยต่อยิ่งขึ้น
ขั้นที่หนึ่ง การทบทวนในแต่ละ รพ.ก่อนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • การเตรียมคน • การประเมินตนเอง (ระบุประเด็นที่อยากช่วยเพื่อน และอยากให้เพื่อนช่วย) • ฝึกฝนการเป็น note taker • ใช้หลักความเรียบง่าย คลายความกังวล (ไม่ต้องกังวลเรื่องการจัดทำเอกสาร ข้อความในเครื่องมือประเมินที่ยังไม่เข้าใจ การประเมินถูกต้องตามเกณฑ์หรือไม่ การให้คะแนน)
ขั้นที่สอง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงพยาบาล • เป็นเวทีแห่งการเติมเต็มให้กันและกัน ได้ทั้งความเข้าใจ ได้เห็นทางออกใหม่ๆ และได้เห็นจุดบอดที่ตนเองมองไม่เห็นผ่านเวทีสนทนา • ใช้ตารางเพื่อนช่วยเพื่อนเป็นเครื่องมือในการเลือก ประเด็นเสวนา เน้นการแบ่งปันประสบการณ์สำหรับผู้ต้องการความช่วยเหลือ • เจาะลึกด้วยคำถาม “ทำอย่างไร” และสรุปประเด็นด้วยเทคนิค “พูดแทนเพื่อน” ผลที่ได้คือความรู้เชิงปฏิบัติและบัญชีรายการประเมินที่โรงพยาบาลจะพัฒนาในช่วงหนึ่งปีข้างหน้า
ขั้นที่สาม การธำรงคุณภาพ เป็นช่วงที่ต้องดำเนินงานอย่างต่อเนื่องให้ฝังเข้าอยู่ในงานปกติประจำมี กลไกติดตามภายใน การติดตามจากภายนอก และการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ต่อเนื่อง • ดำเนินการพัฒนาตามประเด็นที่วางแผนไว้ • มีกลไกติดตามภายในของ รพ. • มีการติดตามความก้าวหน้าจาก สสจ. • มีการสุ่มเยี่ยมสำรวจจาก สรพ. • มีการรับรู้ความก้าวหน้าผ่านการทำ teleconference ระหว่าง รพ. กับ สรพ.และ สสจ. • มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในเครือข่ายเฉพาะประเด็นหรือตามวิชาชีพภายในจังหวัดอย่างต่อเนื่อง
รูปแบบของตัวช่วยในการประเมินเพื่อหาโอกาสพัฒนารูปแบบของตัวช่วยในการประเมินเพื่อหาโอกาสพัฒนา รูปแบบที่ 1 ประเมินลำดับขั้นของการพัฒนา โดยนำเอาประเด็นย่อยจาก overall scoring มาขยายให้เป็น 5 ระดับ โดยใช้ภาษาและถ้อยคำที่เข้าใจง่าย เห็นรูปธรรมในการปฏิบัติ ในการประเมินนั้นควรตีความให้ลึกซึ้ง คือคำนึงถึง effectiveness ของการปฏิบัติด้วยรูปแบบนี้จะใช้กับมาตรฐานตอนที่ I และระบบงานใหญ่ๆ
รูปแบบที่ 1 ประเมินลำดับขั้นของการพัฒนา • I-1 การนำองค์กร,I-2การบริหารเชิงกลยุทธ์,I-3 การวัดวิเคราะห์และจัดการความรู้ • I-5 HR, II-1.2ก.ระบบบริหารความเสี่ยง • II-9 การทำงานกับชุมชน
รูปแบบที่ 2 ตารางประเมินการปฏิบัติในกิจกรรมที่ใช้เกณฑ์ประเมินเดียวกัน ใช้ในการประเมินกิจกรรมทบทวนคุณภาพ 12 กิจกรรม ทุกหน่วยงานไม่ จำเป็นต้องทำ ครบทั้งหมด บางเรื่องควรทำที่ระดับ รพ. บางเรื่องมีเจ้าของ ระบบรับผิดชอบอยู่แล้ว บางเรื่องเป็นเรื่องเฉพาะหอผู้ป่วย บางเรื่องต้องทำ ทุกหน่วย 1. มีการทบทวนเป็นครั้งคราว 2. มีการทบทวนและปรับปรุงที่สอดคล้องกับบริบทของหน่วยงานอย่างสม่ำเสมอ 3. กิจกรรมทบทวนครอบคลุมโอกาสเกิดปัญหาสำคัญ มีการวิเคราะห์ root cause เพื่อหาต้นเหตุเชิงระบบ นำมาสู่การปรับปรุงระบบงานซึ่งเน้นไปที่การป้องกันสาเหตุที่แท้จริงอย่างครบถ้วน 4. มีการทบทวนที่บูรณาการเข้าเป็นกิจกรรมประจำของหน่วยงาน มีความไวในการตรวจพบปัญหาในการดูแลผู้ป่วยและการปฏิบัติงาน, มีการติดตามการปฏิบัติตามระบบงานที่ได้รับการปรับปรุงและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 5. มีวัฒนธรรมของการทบทวนคุณภาพการดูแลผู้ป่วย รวมทั้งการมีระบบ concurrent monitoring ในรูปแบบต่างๆ • II-1.2 กิจกรรมทบทวนคุณภาพ
รูปแบบที่ 3 การตรวจสอบการปฏิบัติในเนื้อหาที่สมควรทำ ว่าทำได้ดี, พอใช้, ไม่มีการปฏิบัติ ใช้ในเรื่องที่มีรายละเอียดของการปฏิบัติจำนวนมาก และไม่สามารถนำมาเรียงเป็นลำดับขั้นได้ • I-5 การมุ่งเน้นทรัพยากร(HR) • II-4 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ (IC) • II-3 สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย(ENV) • II-6 ระบบยา • II-7 ก.ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์, II-7ข.คลังเลือด,II-7ค.บริการรังสีวิทยา
รูปแบบที่ 4การประเมินกระบวนการดูแลผู้ป่วยรายโรค • เกณฑ์เชิงกระบวนการดูแลผู้ป่วย • เกณฑ์การให้คะแนนด้านตัวชี้วัด • III กระบวนการดูแลผู้ป่วย
ประเด็นที่คุยกันในวันที่ 1 • การนำองค์กร การบริหารเชิงกลยุทธ์ • การวัดวิเคราะห์และจัดการความรู้ • กิจกรรมทบทวนการดูแลผู้ป่วย • การบริหารทรัพยากรบุคคล (HR) • การบริหารความเสี่ยง (RM)
วันที่ 1 แบ่งกลุ่ม นั่ง ดังนี้ เวที กลุ่มที่ 1 การนำองค์กร การบริหารเชิงกลยุทธ์ กลุ่มที่ 3 กิจกรรมทบทวนและ กระบวนการดูแลผู้ป่วย PCT กลุ่มที่ 2 การวัดวิเคราะห์และจัดการความรู้ กลุ่มที่ 4 RM กลุ่มที่ 5 HR
ค้นหา FA และ Note taker • ให้เวลา 5 นาทีในการหา FA กับ Note taker
เนื้อหาที่จะคุยกันในวันนี้ • กลุ่มที่ 1 การนำองค์กร การบริหารเชิงกลยุทธ์ • กลุ่มที่ 2 การวัดวิเคราะห์และจัดการความรู้ • กลุ่มที่ 3 กิจกรรมทบทวนและกระบวนการดูแลผู้ป่วย • กลุ่มที่ 4 RM • กลุ่มที่ 5 HR Scanทั้ง 7 มาตรฐานที่จะคุยกัน (ในแต่ละรพ.) • 2 ประเด็นที่อยากช่วยเพื่อน • 2 ประเด็นที่อยากให้เพื่อนช่วย
ตัวอย่างตารางเพื่อนช่วยเพื่อนตัวอย่างตารางเพื่อนช่วยเพื่อน การนำองค์กร
วันที่ 1 ให้แต่ละกลุ่ม 1.สรุปสิ่งที่แต่ละรพ.ทำได้ดี (good practice)ในแต่ละประเด็นมาตรฐาน 2.สรุปประเด็นที่จะพัฒนาร่วมกันทั้งจังหวัด ใน 7 มาตรฐานที่เราได้คุยกันวันนี้ 1)การนำองค์กร /การบริหารเชิงกลยุทธ์ 2) การวัดวิเคราะห์และจัดการความรู้ 3) กิจกรรมทบทวนและกระบวนการดูแลผู้ป่วย 4) RM 5) HR ***** พร้อมกับเตรียมนำเสนอกลุ่มใหญ่ **** 3.แต่ละโรงพยาบาลร่วมกันวางแผนพัฒนา (self recommendation )ในการพัฒนาเพื่อธำรงการพัฒนาบันไดขั้นที่ 2 ในช่วง 3 เดือน และ 1 ปีเตรียมไว้รวมกับประเด็นมาตรฐานที่จะคุยกันพรุ่งนี้ เพื่อรวบรวมส่งให้ สสจ.ภายใน 2 อาทิตย์ และ สสจ.รวบรวมส่งให้ สรพ. เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณาธำรงการพัฒนาคุณภาพในบันไดขั้นที่ 2
Good practice การพัฒนาคุณภาพ จังหวัด………
สรุปภาพรวมในการพัฒนาร่วมกันทั้งจังหวัด………สรุปภาพรวมในการพัฒนาร่วมกันทั้งจังหวัด………
วันที่ 2 แบ่งกลุ่มดังนี้ กลุ่มที่ 3 : ENV กลุ่มที่ 1 : IC กลุ่มที่ 2 : ระบบยา กลุ่มที่ 4 : การทำงานกับชุมชน กลุ่มที่ 5 : Lab กลุ่มที่ 6 : x-ray
ประเด็นที่จะคุยวันที่ 2 • แบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม • 1. IC • 2. ระบบยา • 3.ENV. • 4. การทำงานกับชุมชน • 5. Lab • 6. x-ray Scanทั้ง 5 มาตรฐานที่จะคุยกัน (ในแต่ละรพ.) • 2 ประเด็นที่อยากช่วยเพื่อน • 2 ประเด็นที่อยากให้เพื่อนช่วย
ตัวอย่าง ตารางเพื่อนช่วยเพื่อน การควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ
วันที่ 2 ให้แต่ละกลุ่ม • สรุปสิ่งที่แต่ละรพ.ทำได้ดี (good practice)ในแต่ละประเด็นมาตรฐาน • สรุปประเด็นที่จะพัฒนาร่วมกันทั้งจังหวัด ใน 5 มาตรฐานที่เราได้คุยกันวันนี้ 1.IC 2. ระบบยา 3. สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย 4. ชุมชน 5. Lab, 6. X-ray *****พร้อมกับเตรียมนำเสนอกลุ่มใหญ่**** • แต่ละโรงพยาบาลรวบรวมแผนพัฒนา self recommendation ในการพัฒนาเพื่อธำรงการพัฒนาบันไดขั้นที่ 2 ในช่วง 3 เดือน และ 1 ปีส่งให้ สสจ.ภายใน 2 อาทิตย์ และ สสจ.รวบรวมส่งให้ สรพ.เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณาธำรงการพัฒนาคุณภาพในบันไดขั้นที่ 2
Good practice การพัฒนาคุณภาพ จังหวัด………
สรุปภาพรวมในการพัฒนาร่วมกันทั้งจังหวัด………สรุปภาพรวมในการพัฒนาร่วมกันทั้งจังหวัด………
AAR กิจกรรม Provincial KM 1.ท่านรู้สึกอย่างไรต่อบรรยากาศการประชุมครั้งนี้ 2.ท่านมีความรู้สึกอย่างไรต่อเครื่องมือ Provincial KM 3.ท่านคิดว่า ท่านได้รับประโยชน์อะไรจากการประชุมครั้งนี้ และท่านจะนำไปใช้ประโยชน์ต่อในเรื่องใด 4.ท่านอยากให้ปรับปรุงในเรื่องใดบ้าง สำหรับการประชุมครั้งต่อไป
ติดต่อ สรพ. นพ.อนุวัฒน์ศุภชุติกุลAnuwat@ha.or.thface book : AnuwatSupachutikulอ.นิศมา ภุชคนิตย์nissama@ha.or.thที่ปรึกษาพื้นที่ทิพยรัตน์ อยู่หนู tippayarat@ha.or.thผู้ประสานงานพื้นที่patthanan@ha.or.thรับผิดชอบโครงการ Provincial KM
สามารถดาวน์โหลดข้อมูลที่เกี่ยวกับ Provincial KM ได้ที่ • เอกสารประกอบการประชุม http://www.ha.or.th/ha2010/th/download/index.php?GroupID=26วีดีโอ และมีไฟล์วีดีโอที่ดูจาก Youtubeสามารถดาวน์โหลดจากลิงค์Provincial KM _ตอน1 การทบทวนในแต่ละ รพ.ก่อนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ http://www.youtube.com/watch?v=jIh26Ff2t4I&feature=youtu.be Provincial KM_ตอน 2 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างโรงพยาบาลhttp://www.youtube.com/watch?v=g_mrgF_4mPA&feature=youtu.be Provincial KM_ตอน 3. การธำรงคุณภาพhttp://www.youtube.com/watch?v=as13xVSs3k8การประเมินตนเอง_ตอนที่ 1 การประเมินแบบลำดับขั้นของการพัฒนาhttp://www.youtube.com/watch?v=uUa2alVKHKU&feature=youtu.beการประเมินตนเอง_ตอนที่ 2 การประเมินกิจกรรมทบทวนคุณภาพhttp://www.youtube.com/watch?v=IaKTCCTrSOoการประเมินตนเอง_ตอนที่ 3 การประเมินตามหัวข้อ Checklisthttp://www.youtube.com/watch?v=463GU65fw2A&feature=youtu.beการประเมินตนเอง_ตอนที่ 4 การประเมินคุณภาพการดูแลผู้ป่วยแบบรายโรคhttp://www.youtube.com/watch?v=_q1CFdm1yKo&feature=youtu.be
ขอให้ Note taker ช่วยพิมพ์ประเด็นที่ได้จากกลุ่ม ส่ง mail ให้ สสจ.และ ส่งสรพ. ที่ Mail :thavadee@ha.or.thและpatthanan@ha.or.th