• 600 likes • 817 Views
กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่. พระราชบัญญัติ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ . ศ . 2539. ระเบียบว่าด้วยความรับผิดชอบ ของข้าราชการในทางแพ่ง พ.ศ.2503. พระราชบัญญัติ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ . ศ . 2539. - หน่วยงานของรัฐ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
E N D
กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. 2539 ระเบียบว่าด้วยความรับผิดชอบ ของข้าราชการในทางแพ่ง พ.ศ.2503
พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. 2539 - หน่วยงานของรัฐ • ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ - การทำละเมิดต่อเอกชน (บุคคลภายนอก) - การทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ • คำนิยามที่สำคัญ - เจ้าหน้าที่
การทำละเมิดต่อเอกชน / บุคคลภายนอก • ความรับผิดทางละเมิดของหน่วยงานของรัฐ -กรณีเจ้าหน้าที่กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ - หน่วยงานของรัฐรับผิด/ถูกฟ้องแทนเจ้าหน้าที่ -ฟ้องกระทรวงการคลัง (ม.5) - กรณีเจ้าหน้าที่กระทำนอกเหนือการปฏิบัติหน้าที่ - หน่วยงานของรัฐไม่ต้องรับผิด/ถูกฟ้อง (ม.6)
การทำละเมิดต่อเอกชน / บุคคลภายนอก (ต่อ) • สิทธิการดำเนินคดีของผู้เสียหาย - ฟ้องหน่วยงานของรัฐ (ฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้ แต่ศาลอาจรับฟ้องแล้วยกฟ้องทีหลัง) - ฟ้องผิดฟ้องใหม่ได้ภายใน 6 เดือน - อายุความการใช้สิทธิ 1 ปี / 10 ปี (ป.พ.พ. ม.448)
การทำละเมิดต่อเอกชน / บุคคลภายนอก (ต่อ) • การร้องขอให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน - ผู้เสียหายตามม.5 - หน่วยงานของรัฐ - ออกใบรับคำขอเป็นหลักฐาน - พิจารณาภายใน 180 วัน - ขยายไม่เกิน 180 วัน (รายงานร.ม.ต.)
การทำละเมิดต่อเอกชน / บุคคลภายนอก (ต่อ) • สิทธิไล่เบี้ยของหน่วยงานของรัฐ - เจ้าหน้าที่กระทำโดยจงใจ / ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง (ม.8 ว 1)ดูภาพนิ่ง 33 - คำนึงถึงความร้ายแรงแห่งการกระทำและความเป็นธรรม (ม.8 ว 2) - หักส่วนความเสียหาย (ม.8 ว 3) - ไม่นำหลักเรื่องลูกหนี้ร่วมมาใช้บังคับ (ม.8 ว 4)ดูภาพนิ่ง 34
การทำละเมิดต่อเอกชน / บุคคลภายนอก (ต่อ) หน่วยงานของรัฐ/ เจ้าหน้าที่ ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เสียหาย อายุความการใช้สิทธิไล่เบี้ย (ม.9) - 1 ปีนับแต่วันชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
การกระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐการกระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ • กรณีเจ้าหน้าที่กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ - บังคับตามม.8 โดยอนุโลม • กรณีเจ้าหน้าที่กระทำมิใช่การปฏิบัติหน้าที่ - บังคับตามป.พ.พ - กระทำประมาทเลินเล่อ - รับผิดลักษณะลูกหนี้ร่วมได้
การกระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ (ต่อ) • อายุความการเรียกชดใช้ค่าเสียหาย - 2 ปีนับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐ รู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวเจ้าหน้าที่ผู้จะพึงต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน (ปฏิบัติหน้าที่+ไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่) - 1 ปีนับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐมีคำสั่งตามความเห็นกระทรวงการคลัง
การเรียกให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนการเรียกให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน • ออกคำสั่งเรียกให้ชดใช้ (คำสั่งทางปกครอง) - กรณีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ - ละเมิดต่อเอกชน/บุคคลภายนอก (ม.8) - ละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ (ม.10 + ม.8) • อุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง • ใช้มาตรการทางปกครอง (พ.ร.บ.วิปกครองม.57-ยึด/อายัดทรัพย์สิน)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. 2539
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. 2539 - ที่มา - คำนิยามที่สำคัญ • เจ้าหน้าที่ • ความเสียหาย • ผู้แต่งตั้ง
หมวด 1 กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิด ต่อหน่วยงานของรัฐ 1.กระทรวงฯ (ส่วนกลาง+ภูมิภาค) 2.ท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นฯ
การดำเนินการเมื่อหน่วยงานของรัฐเกิดความเสียหายการดำเนินการเมื่อหน่วยงานของรัฐเกิดความเสียหาย - รายงานผู้บังคับบัญชาตามลำดับ - สอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น - แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริง ความรับผิดทางละเมิด
การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด • มีเหตุอันควรเชื่อว่าความเสียหายเกิดจากการกระทำของ เจ้าหน้าที่ - กำหนดวันแล้วเสร็จ • กค. ประกาศกำหนดจำนวนความเสียหาย / ผู้แทนหน่วยงานร่วมเป็นกรรมการ - กรรมการจำนวนไม่เกิน 5 คน
การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด(ต่อ)การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด(ต่อ) • ข้อยกเว้น • ไม่มีเหตุอันควรเชื่อว่าเกิดจากการกระทำของเจ้าหน้าที่ • รายงานผู้บังคับบัญชา • เห็นด้วย : ยุติเรื่อง • ไม่เห็นด้วย : แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด • ชดใช้ค่าเสียหายครบถ้วน
การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด(ต่อ)การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด(ต่อ) • กรณีร่วมกันแต่งตั้งคณะกรรมการ • เจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐทำความเสียหายแก่หน่วยงาน ของรัฐอีกแห่งหนึ่ง (ข้อ 10) • หน่วยงานของรัฐมากกว่าหนึ่งแห่งได้รับความเสียหาย (ข้อ 11) • เกิดการทำละเมิดของเจ้าหน้าที่หลายหน่วยงาน (ข้อ 11)
การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด(ต่อ)การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด(ต่อ) • ผู้มีอำนาจแต่งตั้ง • ไม่ดำเนินการภายในเวลาสมควร • แต่งตั้งไม่เหมาะสม • ให้ปลัดกระทรวงปลัดทบวง รัฐมนตรี • แต่งตั้ง/เปลี่ยนแปลง (แทนผู้มีอำนาจ)ตามที่เห็นสมควร
หน้าที่คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดหน้าที่คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด • กรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งหมด (ข้อ 13) • ประธานไม่อยู่ให้เลือกกรรมการคนใดคนหนึ่ง ทำหน้าที่แทน • มติที่ประชุมถือเสียงข้างมาก ไม่เห็นด้วยให้ทำความเห็นแย้งไว้ (ข้อ 14) • ตรวจสอบข้อเท็จจริงรวมรวมพยานหลักฐานพยานบุคคล/ ผู้เชี่ยวชาญ • ตรวจสอบเอกสารวัตถุ / สถานที่
หน้าที่คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด (ต่อ) • ต้องให้โอกาสแก่ผู้เสียหายได้ชี้แจง (ข้อ 15) • เสนอความเห็นให้ผู้แต่งตั้งพิจารณา โดยมีข้อเท็จจริง/กฎหมาย/พยานหลักฐาน (ข้อ 16) • สอบสวนให้แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลา
การดำเนินการของผู้มีอำนาจแต่งตั้งการดำเนินการของผู้มีอำนาจแต่งตั้ง • ไม่ผูกพันความเห็นของคณะกรรมการฯ (ข้อ 16) • ขอให้กรรมการสอบเพิ่มเติมหรือทบทวนได้ • ให้วินิจฉัยว่ามีผู้ใดต้องรับผิด/เป็นจำนวนเท่าใด/ยังไม่ต้องแจ้งให้ผู้รับผิดทราบ (ข้อ 17) • ให้ส่งผลให้กระทรวงการคลังตรวจสอบภายใน 7 วัน • ระหว่างรอผลกระทรวงการคลัง ให้ตระเตรียมออกคำสั่ง/ ฟ้องคดีมิให้ขาดอายุความ 2 ปี
การดำเนินการของผู้มีอำนาจแต่งตั้ง (ต่อ) • หากกระทรวงการคลังมิได้แจ้งผลภายใน1 ปีหรือ 1 ปี 6 เดือน • ให้ดำเนินตามที่เห็นสมควร • เมื่อกระทรวงการคลังแจ้งผลแล้วให้ดำเนินการ • ตามความเห็นกระทรวงการคลัง • ตามที่เห็นว่าถูกต้อง (ข้อ 18) • กรณีแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมกัน • ผู้แต่งตั้งร่วมเห็นต่างกันให้เสนอครม. • เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดตาย ให้รีบดำเนินการภายในอายุความมรดก
การดำเนินการของผู้มีอำนาจแต่งตั้ง (ต่อ) • ข้อยกเว้น - สำนวนที่ไม่ต้องส่งให้กค. ตรวจสอบ (ประกาศกค.)ว98 • การวินิจฉัยสั่งการที่แตกต่างจากความเห็นของ กค. - ราชการส่วนท้องถิ่น/รัฐวิสาหกิจ /หน่วยงานอื่นของรัฐตามพระราชกฤษฎีกาฯ • ให้ปฏิบัติตามที่เห็นว่าถูกต้อง
การพิจารณาของกระทรวงการคลังการพิจารณาของกระทรวงการคลัง • ให้มี “คณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางแพ่ง” เป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นต่อกระทรวงการคลัง (ข้อ 21) • ตรวจสอบพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้อง • ให้บุคคลมาชี้แจงเพิ่มเติม • ให้รับฟังพยานหลักฐานเพิ่มเติม
การชดใช้ค่าเสียหาย • ถ้าเป็นเงินชดใช้เป็นเงิน • ถ้าเป็นสิ่งของต้องชดใช้เป็นสิ่งของที่มีสภาพอย่างเดียวกัน • ถ้าซ่อมต้องทำสัญญาตกลง และซ่อมให้แล้วเสร็จโดยเร็ว(6 ด.) • ถ้าชดใช้ต่างจากทรัพย์สินที่เสียหายหรือสูญหาย ต้องทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง
การผ่อนชำระเงิน • เจ้าหน้าที่สามารถผ่อนชำระได้ตามหลักเกณฑ์ ของกระทรวงการคลัง ว115 • หากไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังกล่าว ให้ทำ ความตกลงกับกระทรวงการคลังเป็นกรณีไป • ห้ามฟ้องล้มละลายในกรณีที่ไม่มีเงินผ่อนชำระ เว้นแต่เข้าเงื่อนไขข้อ 27 แห่งระเบียบฯ
หมวด 2 กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิด ต่อบุคคลภายนอก กระทรวงฯ (ส่วนกลาง+ภูมิภาค)
การดำเนินการเมื่อเจ้าหน้าที่ทำให้บุคคลภายนอกได้รับเสียหายการดำเนินการเมื่อเจ้าหน้าที่ทำให้บุคคลภายนอกได้รับเสียหาย - รายงานผู้บังคับบัญชาตามลำดับ เจ้าหน้าที่ได้กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ - ดำเนินการตามหมวด 1 โดยอนุโลม
การดำเนินการกรณีผู้เสียหาย (บุคคลภายนอก)ยื่นคำขอให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน - ผู้รับคำขอ • หน่วยงานต้นสังกัดของเจ้าหน้าที่ • กระทรวงการคลัง(กรณีมิได้สังกัดหน่วยงานใด) - แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด • กรณีต้องชดใช้ ให้ปฏิบัติตามที่ กค. กำหนด • กรณีไม่ต้องชดใช้ = ยังไม่ได้รับความเสียหาย
การดำเนินการกรณีผู้เสียหาย (บุคคลภายนอก)ฟ้องคดีต่อศาล กรณีไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ -เรียก จนท.เข้ามาเป็นคู่ความ กรณีปฏิบัติหน้าที่ -อัยการแถลงศาลให้กัน จนท.ออกมา • ถ้าผลคดีทางราชการแพ้ -ไล่เบี้ย จนท. ตามเกณฑ์หมวด 1 (จงใจ-ร้ายแรง)
ตารางแสดงขั้นตอนดำเนินการตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. ๒๕๓๙และระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. ๒๕๓๙ กรณีเห็นว่าความเสียหายมิได้เกิดจากการกระทำของเจ้าหน้าที่ต้องรายงานผู้บังคับบัญชาเพื่อ พิจารณาว่าสมควรตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดหรือไม่(ข้อ๑๒) รายงาน หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ(แต่งตั้งคณะ กรรมการสอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น) เกิดความเสียหาย ๑. กรณีเห็นว่าความเสียหายเกิดจากการกระทำของเจ้าหน้าที่ก็ให้ตั้ง คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ รับผิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ๒. คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด รับผิดตามพ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดฯ จงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ปฏิบัติหน้าที่ ประมาทเลินเล่อ ไม่ต้องรับผิด มีผู้รับผิดหรือไม่ ๓. ผู้แต่งตั้งวินิจฉัยสั่งการ ส่งสำนวนการสอบสวนให้กระทรวงการคลังภายใน๗วันนับแต่วันวินิจฉัยสั่งการ จำนวนเท่าใด ส่วนราชการต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จก่อนอายุความ๒ปีสิ้นสุดลงไม่น้อยกว่า๖เดือน ๔. กระทรวงการคลัง คณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางแพ่ง ส่วนท้องถิ่นและรัฐวิสาหกิจต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จก่อนอายุความ๒ปีสิ้นสุดลงไม่น้อยกว่า๑ปี หน่วยงานของรัฐมีคำสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง หน่วยงานของรัฐประเภทราชการส่วนท้องถิ่นรัฐวิสาหกิจมีคำสั่งตามที่เห็นว่าถูกต้อง กรณีปฏิบัติหน้าที่ออกคำสั่งทางปกครอง ๕. หน่วยงานของรัฐ ผู้ต้องรับผิด ผู้ต้องรับผิดไม่พอใจคำสั่ง ให้ฟ้องศาลปกครอง กรณีไม่ใช่ปฏิบัติหน้าที่ฟ้องคดีต่อศาล ภายในอายุความ๒ปี
การพิจารณาวินิจฉัย เสียหายหรือไม่ แบ่งส่วนความรับผิดอย่างไร
คำนวณราคากลางไม่ถูกต้องคำนวณราคากลางไม่ถูกต้อง
การแบ่งส่วนความรับผิดการแบ่งส่วนความรับผิด ใช้ Factor F ผิดปี จ้างแพง 100,000 กก.กำหนดราคากลาง 70% 70,000 จนท.ฝ่ายพัสดุ ทำความเห็นเสนอผู้อนุมัติ 15% 15,000 ผู้อนุมัติ ให้ใช้ราคากลางทำสัญญา 15% 15,000
การแบ่งส่วนความรับผิด (ต่อ) คำนวณราคา ต่อหน่วยเกินจริง จ้างแพง 100,000 กก.กำหนดราคากลาง 100% จนท.ฝ่ายพัสดุ ทำความเห็นเสนอผู้อนุมัติ - ผู้อนุมัติ ให้ใช้ราคากลางทำสัญญา -
กก.ตรวจรับไม่ถูกต้อง ก่อสร้างถนน แบ่งส่วนความรับผิด กก.ตรวจรับ ผู้ควบคุมงาน ขรก. 30% (2 คนๆละ15%) 60%(2คนๆละ30%) ปชช.10% (2 คนๆละ5%)
กก.ตรวจรับไม่ถูกต้อง ก่อสร้างถนน แบ่งส่วนความรับผิด กก.ภาคราชการ 100% 4 คนๆละส่วน กก.ประชาคม 2 คน 0% เรื่องเทคนิค
หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0406.2/ว.66 ลงวันที่ 25 กันยายน 2550 เรื่อง แนวทางการกำหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
การจัดจ้าง/จัดซื้อ ราคาแพง วิธีการจัดซื้อ/จัดจ้าง ไม่ถูกต้อง กก.พิจารณาผล 60 % ฝ่ายพัสดุ 20 % ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน 10 %* ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ 10 %* *ถ้าไม่ผ่าน จนท.ฝ่ายพัสดุ เพิ่มเป็น 20% หรือ 40%
กำหนดราคากลางสูงกว่าความเป็นจริงกำหนดราคากลางสูงกว่าความเป็นจริง ---ใช้ค่า Factor F /ราคาวัสดุ ไม่ถูกต้อง กก.กำหนดราคากลาง 70 % ฝ่ายพัสดุ 15 % ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน 10 %* ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ 5 %* *ถ้าไม่ผ่าน จนท.ฝ่ายพัสดุ เพิ่มเป็น 20%, 10% หรือ 30%
กำหนดราคากลางสูงกว่าความเป็นจริงกำหนดราคากลางสูงกว่าความเป็นจริง ---คำนวณปริมาณงานผิดพลาด กก.กำหนดราคากลาง 100 % ฝ่ายพัสดุ - % ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน - % ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ - %
ไม่คัดเลือกผู้เสนอราคาต่ำสุดที่มีคุณสมบัติถูกต้องตามเงื่อนไขที่กำหนดไม่คัดเลือกผู้เสนอราคาต่ำสุดที่มีคุณสมบัติถูกต้องตามเงื่อนไขที่กำหนด กก.เปิดซอง/พิจารณาผล 60 % ฝ่ายพัสดุ 15%* ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน 15%* ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ 10%* *ถ้า จนท.ฝ่ายพัสดุ/ผู้ผ่านงาน ทักท้วงแล้ว ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจสั่งอนุมัติ ให้ผู้อนุมัติรับผิด 40% (ผู้ทักท้วงไม่ต้องรับผิด)
การตรวจการจ้าง/ตรวจรับพัสดุ ไม่ถูกต้อง ---การก่อสร้างไม่เป็นไปตามแบบรูปรายการ กก.ตรวจการจ้าง 30 % ผู้ควบคุมงาน 50 % ฝ่ายพัสดุ -%* ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน 10%* ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ 10%* *ถ้า ผู้บังคับบัญชาไม่น่าจะรู้ว่าไม่เป็นไปตามแบบรูปรายการ ไม่ต้องรับผิด เปลี่ยนสัดส่วนเป็น 40/60 (กก.ตรวจการจ้าง/ผู้ควบคุมงาน)
---ส่งของไม่ตรงตามสัญญา---ส่งของไม่ตรงตามสัญญา กก.ตรวจรับ 60 % ฝ่ายพัสดุ 20%* ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน 10%* ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ 10%* *ถ้า จนท.ฝ่ายพัสดุ/ผู้บังคับบัญชาไม่น่าจะรู้ว่าการส่งของไม่ตรงตามสัญญา ไม่ต้องรับผิด เปลี่ยนสัดส่วนเป็น กก.ตรวจรับ 100%
ไม่เรียกค่าปรับกรณีส่งมอบงาน/ของ ล่าช้า กก.ตรวจการจ้าง/ตรวจรับ 70 % ฝ่ายพัสดุ 10%* ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน 10%* ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ 10%* *ถ้า จนท.ฝ่ายพัสดุ/ผู้บังคับบัญชาไม่อาจทราบข้อเท็จจริงว่ามีการส่งมอบล่าช้า ไม่ต้องรับผิด เปลี่ยนสัดส่วนเป็น กก.ตรวจรับ 100%
การใช้เงินผิดระเบียบ • ไม่นำเงินรายได้เข้าบัญชีที่เกี่ยวข้องแต่นำไปใช้โดยผิดระเบียบ (กรณีปฏิบัติผิดหลักการเงินการคลัง) • ฝ่ายการเงิน 20 % • ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน 30 % • ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ 50 %* *ถ้าผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจสั่งการและเป็นผู้อนุมัติ ให้รับผิดเต็มจำนวน 100%
การใช้เงินผิดระเบียบ • จ่ายเงินเกินสิทธิ / ไม่มีสิทธิ /ผิดระเบียบ* • ฝ่ายการเงิน 60 % • ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน 20 % • ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ 20 % *มีงบประมาณแล้ว แต่จ่ายผิดระเบียบหรือเกินสิทธิที่ควรได้รับ
การทุจริตทางการเงินหรือทรัพย์สินการทุจริตทางการเงินหรือทรัพย์สิน • รับเงินแล้วไม่ออกใบเสร็จ/แก้ไข/ปลอม ใบเสร็จ ผู้ทุจริต คืนเงินที่เอาไปเต็มจำนวน 100 % ผู้เกี่ยวข้อง-: • ฝ่ายการเงิน 60 % • ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน 20 % • ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ 20 %
การทุจริตทางการเงินหรือทรัพย์สินการทุจริตทางการเงินหรือทรัพย์สิน • ออกใบเสร็จแล้วไม่นำเงินส่ง ผู้ทุจริต คืนเงินที่เอาไปเต็มจำนวน 100 % ผู้เกี่ยวข้อง-: • กก.เก็บรักษาเงิน (ไม่ปฏิบัติหน้าที่) 60 % • ฝ่ายการเงิน 20 % • ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน 10 % • ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ 10 %