100 likes | 325 Views
สรุปกรอบการพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมลูกเสือ. ดร.สธญ ภู่คง หน.โครงการวิจัย. ยงยุทธ แสนประสิทธิ์ ทีมวิจัย. ศึกษาแนวคิด/ ทฤษฎี. สร้างกรอบการพัฒนาครั้งที่ 1 21 ตุลาคม 2552. สร้างกรอบการพัฒนาครั้งที่ 2 13 พฤศจิกายน 2552. ระดม ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ. การดำเนินการ 3 ระยะ.
E N D
สรุปกรอบการพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมลูกเสือสรุปกรอบการพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมลูกเสือ ดร.สธญ ภู่คง หน.โครงการวิจัย ยงยุทธ แสนประสิทธิ์ ทีมวิจัย
ศึกษาแนวคิด/ ทฤษฎี สร้างกรอบการพัฒนาครั้งที่ 1 21 ตุลาคม 2552 สร้างกรอบการพัฒนาครั้งที่ 2 13 พฤศจิกายน 2552 ระดม ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ การดำเนินการ 3 ระยะ สรุปกรอบการพัฒนา
กรอบการพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมลูกเสือกรอบการพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมลูกเสือ แนวคิด ปรัชญา วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ เนื้อหาสาระของหลักสูตร กิจกรรม การประเมินผล
เป็นพลเมืองดี Completed man เกิด KUSA ทำหน้าที่ของเยาวชน มีคุณลักษณะ 3 H พรบ.ลูกเสือแห่งชาติ 2551 - ความจงรักภักดี - ความรักชาติบ้านเมือง - ความสามัคคีในหมู่คณะ นโยบายลูกเสือโลก - มีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ - รู้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง - Knowledge - Understanding - Skill - Attitude กรอบแนวคิด/ปรัชญา • - จงรักภักดีต่อ 3 สถาบัน • มีหน้าที่ต่อผู้อื่น • มีหน้าที่ต่อตนเอง “การพัฒนาเยาวชนให้เป็นพลเมืองดี อยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข” พัฒนาทักษะ • - Happy • Healthy • Helpful citizen • - Global skill (LTC) • Academic skill • Life skill กลยุทธ์ทางศาสนา - สังคหวัตถุ 4
เป็นพลเมืองดี Completed man เกิด KUSA ทำหน้าที่ของเยาวชน มีคุณลักษณะ 3 H กรอบวิสัยทัศน์ ปรัชญาลูกเสือ “การพัฒนาเยาวชนให้เป็นผู้มีคุณธรรม มีระเบียบวินัยจงรักภักดีต่อชาติศาสนาพระมหากษัตริย์รักความเป็นไทยรักสามัคคี รับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อมด้วยกระบวนการลูกเสือ”
กรอบวัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ที่กำหนดตาม พรบ.ลูกเสือแห่งชาติ พ.ศ.2551 มาตรา 8 พัฒนาให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ พัฒนาให้เป็นผู้มีคุณธรรม พัฒนาให้เกิดจิตสำนึกที่ดี แนวคิดและปรัชญาอื่น ๆ พัฒนาให้เกิดทักษะชีวิต
เหมาะสมกับช่วงวัย ปรัชญา กรอบเนื้อหาสาระ สัญลักษณ์ลูกเสือ หลักการ เสริมสร้างทักษะชีวิต พรบ.ลูกเสือ ระเบียบวินัย, คุณลักษณะ ชีวิตต้องสู้ ศรัทธายึดมั่น สนองคุณผู้มีพระคุณ เทิดทูนเกียรติยศ เพื่อนช่วยเพื่อน พี่น้องลูกเสือโลก วิทยาศาสตร์เพื่อแก้ปัญหา สืบสานภูมิปัญญา สู่ความเป็นเลิศ ฯลฯ การประเมิน สมศ. คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ ตระหนักรู้ในตน เข้าใจผู้อื่น ความภาคภูมิใจในตนเอง ความรับผิดชอบต่อสังคม การสื่อสาร การสร้างสัมพันธภาพ การตัดสินใจ การแก้ปัญหา การจัดการกับอารมณ์ การจัดการกับความเครียด ฯลฯ ไม่ซ้ำซ้อนกับ 8 สาระ วิสัยทัศน์ สอดคล้องสถานการณ์ วัตถุประสงค์
กรอบกิจกรรม Content Child center Symbolic framework กิจกรรมภายในสถานศึกษา กิจกรรมภายนอกสถานศึกษา กิจกรรมเสริมพิเศษ Learning by doing เรียนรู้ด้วยตัวเอง เน้นการปฏิบัติ Developmental stage Participation Guideline
กรอบการประเมินผล ประเมินตามสภาพจริง ประเมินครอบคลุมกิจกรรมการเรียนการสอนตลอดหลักสูตร ประเมินให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ในหลักสูตร และเกณฑ์มาตรฐานของ สมศ. ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมกับการประเมิน