4.13k likes | 31.67k Views
การใช้ PARTOGRAPH. พาร์โทกราฟ . เครื่องมือในการดูแลมารดาและทารกขณะคลอด. โดย นพ.ศุภอรรถ พลอินทร์. WHO 1988. FHR. AF. Moulding. ข้อมูลทารก. Cervix. ความก้าวหน้าของการคลอด. Descent. UT contraction. ข้อมูลของมารดา. Drugs. VS. Urine. ความก้าวหน้าของการคลอด. ข้อมูลทารก.
E N D
การใช้ PARTOGRAPH พาร์โทกราฟ เครื่องมือในการดูแลมารดาและทารกขณะคลอด โดย นพ.ศุภอรรถ พลอินทร์
WHO 1988 FHR AF Moulding ข้อมูลทารก Cervix ความก้าวหน้าของการคลอด Descent UT contraction ข้อมูลของมารดา Drugs VS Urine
ความก้าวหน้าของการคลอดความก้าวหน้าของการคลอด ข้อมูลทารก ข้อมูลของมารดา
บันทึกความก้าวหน้าของการคลอดบันทึกความก้าวหน้าของการคลอด Nomogram (Philpott 1971)
ระยะปากมดลูกเปิดช้า (Latent phase)
ระยะปากมดลูกเปิดเร็ว (Active phase)
การเคลื่อนต่ำของศีรษะทารก (Descent) Station (PV) -1 0 +1 +2 S=Sinciput (หน้าผาก) O=Occiput(ท้ายทอย)
Duration ความถี่ของการหดรัดตัว (ครั้ง/10นาที)
การบันทึกสภาวะของทารกในครรภ์ (Fetal conditions) 1. FHR 2. เยื่อหุ้มทารก (Membranes), น้ำคร่ำ (Liquor) 3. การปรับตัวของศีรษะ ทารก (Moulding)
การฟังเสียงการเต้นของหัวใจทารก (FHR) การบันทึก ให้ทำทุก 1-1/2 ชั่วโมง โดยใช้เครื่องหมาย . (จุด)
ลักษณะเยื่อหุ้มทารกและลักษณะของน้ำคร่ำMembranes and liquor สภาพเยื่อหุ้มทารก I = membranes intact (ถุงน้ำยังไม่แตก)ม, R = membranes rupture ลักษณะน้ำคร่ำ C = clear (ใสปกติ), M = meconium stained (มีขี้เทาปน) A=ถุงน้ำแตกแล้วแต่ตรวจภายในไม่พบน้ำคร่ำ, B=blood stained(มีเลือดปน)
การปรับตัวของกระโหลกศีรษะ (Moulding) เป็นภาวะปกติของทารกขณะเจ็บครรภ์คลอด เพื่อลดความกว้างของกระโหลกศีรษะ (BPD) เพื่อสะดวกในการเข้าสู่อุ้งเชิงกราน ถ้ามี moulding มากเกินไปอาจมีภาวะ CPD (ศีรษะโตกว่าช่องเชิงกราน) 0 = กระดูกแยกห่างพอสมควร คลำ sagital suture ได้ชัดเจน + = กระดูกชิดกันพอดีคลำร่องไม่ชัด ++ = มีการเกยกัน (overlapping) +++ = มีการเกยกันมากกว่า 0.5 ซม.
Oxytocin U/500ml microdrop/min การให้ยาและการรักษา (ระบุเวลาด้วย) ความดันโลหิต Pulse rate urine
ตัวอย่างความผิดปกติของความก้าวหน้าของการคลอดตัวอย่างความผิดปกติของความก้าวหน้าของการคลอด 1. ระยะปากมดลูกเปิดช้า นานผิดปกติ(Prolonged latent phase) มีการเจ็บครรภ์คลอดจริง ในระยะที่ปากมดลูกเปิดไม่ถึง 3 ซม. (การหดรัดตัวมดลูกสม่ำเสมอ อย่างน้อย 1 ครั้ง ใน 10 นาที และหดรัดตัวนานไม่น้อยกว่า 20 วินาที ) ผิดปกติ ถ้าระยะนี้นานกว่า 8 ชั่วโมง
ความผิดปกติในระยะ Active phase 1. เมื่อเส้นกราฟลากผ่านเส้น Alert line 2. เมื่อเส้นกราฟลากถึง หรือเลยเส้น Action line
การใช้พาร์โทกราฟของพยาบาลผดุงครรภ์การใช้พาร์โทกราฟของพยาบาลผดุงครรภ์ สถานีอนามัย โรงพยาบาล 1. ผู้คลอด เฉพาะที่มีอัตราเสี่ยงต่ำเท่านั้น ทุกราย 2.ระยะปากมดลูกเปิดช้า บันทึกFHRและการหดรัดตัวมดลูกทุก 1 ชม สัญญาณชีพและตรวจภายใน ทุก 4 ชั่วโมง. 3.ระยะปากมดลูกเปิดช้า>8 ชม. ส่งต่อผู้ป่วย รายงานแพทย์ 4.ระยะปากมดลูกเปิดเร็ว บันทึกFHRและการหดรัดตัวมดลูกทุก 30 นาที สัญญาณชีพและตรวจภายใน ทุก 2 ชั่วโมง. 5.การขยายของปากมดลูกข้ามเส้น Alert line ส่งต่อผู้ป่วย รายงานแพทย์
การดูแลในสถานพยาบาลที่มีความพร้อมการดูแลในสถานพยาบาลที่มีความพร้อม 1. ระยะ Latent phase นานกว่า 8 ชั่วโมง 2. เมื่อเส้นกราฟลากผ่านเส้น Alert line 3. เมื่อเส้นกราฟถึงหรือเลยเส้น Action line
ระยะ Latent phase นานกว่า 8 ชั่วโมง ประเมินทางคลินิก (medical assessment) - การเจ็บครรภ์คลอด - ทารกในครรภ์ - มารดา 1. พบความผิดปกติ ผ่าตัดคลอด 2. ไม่ใช่การเจ็บครรภ์จริง เลิกบันทึก partograph 3. มีความก้าวหน้าแต่ยังไม่เข้าสู่ระยะ Active phase ARM+Oxytocin
เมื่อเส้นกราฟลากผ่านเส้น Alert line - ให้เจาะถุงน้ำ (ARM) ถ้าถุงน้ำยังไม่แตก - ไม่ต้องให้ Oxytocin - ให้ประเมิน และ ตรวจภายในหลังจากครบ 4 ชั่วโมง
เมื่อเส้นกราฟถึงหรือเลยเส้น Action line ประเมินทางคลินิก (Medical assessment) ผิดปกติ ผ่าตัดคลอด - ให้สารน้ำเข้าทางหลอดเลือด - ให้ปัสสาวะเองหรือสวนปัสสาวะ - ให้ยาแก้ปวด - ให้Oxytocin ถ้ามดลูกหดรัดตัวไม่ดี ไม่มีการก้าวหน้าของการคลอด การหดรัดตัวที่ดี คือ ความถี่ 3 - 4 ครั้ง ใน 10 นาที นาน 40--60 วินาที