1 / 27

กลุ่มที่ 5

กลุ่มที่ 5. สพป . ชลบุรี เขต 1 เขต 2 เขต 3 สพป .ฉะเชิงเทรา เขต 1 เขต 2 สพป .ระยอง เขต 1 เขต 2 สพป .จันทบุรี เขต 1 เขต 2 สพป .ตราด สพป .นครนายก สปพ .ปราจีนบุรี เขต 1 เขต 2 สปพ .สระแก้ว เขต 1 เขต 2. 1. ทำไมต้องเป็นโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล.

jaynej
Download Presentation

กลุ่มที่ 5

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กลุ่มที่ 5 • สพป.ชลบุรี เขต 1 เขต 2 เขต 3 • สพป.ฉะเชิงเทรา เขต 1 เขต 2 • สพป.ระยอง เขต 1 เขต 2 • สพป.จันทบุรี เขต 1 เขต 2 • สพป.ตราด • สพป.นครนายก • สปพ.ปราจีนบุรี เขต 1 เขต 2 • สปพ.สระแก้ว เขต 1 เขต 2

  2. 1.ทำไมต้องเป็นโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล1.ทำไมต้องเป็นโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษา พัฒนาโรงเรียนให้สอดคล้องกับบริบทท้องถิ่น ลดความเหลื่อมล้ำ เป็นไปตามความต้องการชุมชนและท้องถิ่น

  3. 2.เป้าหมายหลักการพัฒนาคุณภาพของโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลคืออะไร2.เป้าหมายหลักการพัฒนาคุณภาพของโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลคืออะไร • การพัฒนาเกิดจากความร่วมมือของท้องถิ่น ชุมชน และภาครัฐ • พัฒนา โรงเรียนให้เป็นศูนย์กลางของการจัดการศึกษาในตำบล • ลดภาระค่าใช้จ่าย ลดเวลาในการศึกษาของผู้เรียนและผู้ปกครอง

  4. 3.โจทย์การพัฒนาคุณภาพนักเรียนควรตอบโจทย์อะไร / ระดับใดบ้าง 3.1 โจทย์ระดับโลก ความเป็นพลโลก (ICT,AI,สภาพแวดล้อม,ฯลฯ) ทักษะและคุณลักษณะของผู้เรียนในระดับสากล (แผนชาติ 20 ปี) 3.2 โจทย์ระดับประเทศ ความสามารถในการแข่งขันและนำประเทศสู่สากล (Thailand 4.0) ความเป็นไทยและพัฒนาสู่สากล (พระราชดำริ,ปรัชญาฯ,ค่านิยม,วัฒนธรรม) ความสงบสุขและความมั่นคงในระดับประเทศอย่างยั่งยืน (มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน

  5. 3.3 โจทย์ระดับภาคของประเทศ เป็นพื้นที่เศรษฐกิจระดับประเทศ : EECเน้นการพัฒนาคน ให้เป็นคนทำงาน / ผู้ประกอบการ / ทรัพยากรที่มีคุณภาพ เป็น HUB (ศูนย์กลางการศึกษา) ในระดับ ASEAN ระดับภูมิภาค และระดับประเทศ เป็นผู้นำในการสร้างสรรค์นวัตกรรม ฯ ทุกด้าน

  6. 3.4 โจทย์การพัฒนากลุ่มจังหวัดและจังหวัด จัดการศึกษาในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษEEC และจังหวัดใกล้เคียง พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะและคุณลักษณะที่สามารถประกอบอาชีพ ได้อย่างมีคุณภาพที่สอดคล้องกับบริบท (พื้นที่เป็นฐาน) จัดการศึกษาบนฐานของชุมชนที่เป็นศูนย์กลางของระบบขนส่ง (Logistic) ระดับประเทศ ระดับ ASEAN และระดับสากล จัดการศึกษาบนฐานของการพัฒนา/การใช้พลังงานที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม

  7. 3.5 โจทย์การพัฒนาตามบริบทอำเภอ / ตำบล / ท้องถิ่น พัฒนาการศึกษาและผู้เรียนให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์และบริบทของท้องถิ่น (สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม) สร้างมูลค่าเพิ่มของทรัพยากรในท้องถิ่น และพัฒนาต่อยอดให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ เทคโนโลยี ในปัจจุบันและอนาคต ความมีส่วนร่วมของชุมชน ท้องถิ่น และภาครัฐ ภาคเอกชน

  8. 3.6 โจทย์การพัฒนานักเรียนตามความแตกต่างและศักยภาพ ของนักเรียนรายบุคคล การจัดกิจกรรมให้หลากหลายและสอดคล้องกับความถนัดของผู้เรียนรายบุคคล (Learning style) เครือข่ายการพัฒนา และการฝึกทักษะในการประกอบอาชีพ การศึกษาต่อในระดับสูง เช่นสถาบันการศึกษาในชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้ประกอบการ โรงงานอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรม ฯลฯ

  9. 3.7 โจทย์การพัฒนาที่ประชาชน/ผู้ปกครอง เน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถที่จะเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพ อยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณภาพมีความสุขบนพื้นฐานของความเป็นคนดีของครอบครัวและสังคม เน้นการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในพื้นที่ (ไม่ต้องเดินทางไปศึกษา ในต่างถิ่น ไม่ทิ้งถิ่นเกิด) ความมีส่วนร่วมของชุมชน ท้องถิ่น และภาครัฐ ภาคเอกชน

  10. 4. คุณภาพโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลควรเป็นอย่างไร 1.โรงเรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนรู้ในชุมชน (LLE) 2.ผู้เรียนเป็นพลเมือง มีคุณภาพ Outcome 3.ท้องถิ่น ชุมชน มีความเจริญ

  11. 1.ระบบการจัดการศึกษา 2.บุคลากรมีคุณภาพ 3.ผู้เรียนมีคุณภาพ Output 4.ผู้เรียนมีทักษะความรู้ความสามารถ

  12. 5.1 ทักษะวิชาการ - ความรู้พื้นฐาน • สาระการเรียนรู้พื้นฐานตามหลักสูตรแกนกลางฯ • สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น • ทักษะการเรียนรู้และคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 • ทักษะและความรู้พื้นฐานของเยาวชนอาเซียน • ทักษะความเป็นพลเมืองไทย (Thailand 4.0)

  13. 5.2 ทักษะชีวิต - ทักษะงาน • ทักษะพื้นฐานในการทำงาน และทักษะอาชีพอย่างหลากหลาย • ทักษะชีวิต (Life Skills) • การเรียนรู้ที่เน้นการปฏิบัติ Active Learning • จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นเทคโนโลยี และนวัตกรรมทางการศึกษา เช่น Coding , Marketing Online

  14. 5.3 ทักษะอาชีพ - ความรู้เฉพาะทาง • พัฒนา / จัดหลักสูตรอาชีพที่หลากหลาย • พัฒนา / จัดหลักสูตรให้สอดคล้องกับตลาดแรงงานและอาชีพ • พัฒนา / จัดหลักสูตรให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่าน Online • จัดหลักสูตรระยะสั้น

  15. กระบวนการดำเนินการควรทำอย่างไรกระบวนการดำเนินการควรทำอย่างไร ระบบการจัดการศึกษา บุคลากรมีคุณภาพ ผู้เรียนมีคุณภาพ Output ผู้เรียนมีทักษะความรู้ความสามารถ

  16. 1.จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา1.จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะสั้น ระยะยาว ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ / นโยบายสำคัญ Process 2.กำหนดแผน โครงการ กิจกรรม ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนา

  17. -อาคารสถานที่ -ระบบสาธารณูปโภค -สภาพแวดล้อมและแหล่งเรียนรู้ Input -ระบบการป้องกัน และระบบความปลอดภัย -โภชนาการและสุขภาพ

  18. 7. เราควรขับเคลื่อนเพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอะไรหรือด้านใดบ้าง จะเกิดผลสัมฤทธิ์ ทั้งระยะยาวและระยะสั้น ระยะสั้น • ด้านเครือข่ายความร่วมมือการพัฒนาทั้งภาครัฐ เอกชน ท้องถิ่น • ด้านสื่อการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอก รร. โดยเฉพาะสื่อนวัตกรรมที่รองรับการพัฒนาในอนาคต • ความรู้ความเข้าใจของผู้บริหารและครูในการจัดการศึกษา การเรียนการสอนที่สอดคล้องกับนโยบาย และเป้าหมายโครงการ

  19. ระยะยาว • หลักสูตรสถานศึกษาสอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น • อาคารสถานที่ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ระบบสาธารณูปโภค มีคุณภาพ • เป็นโรงเรียนต้นแบบในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการจัดการศึกษาให้กับโรงเรียนอื่นๆ ในพื้นที่และต่างพื้นที่ • ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานของหลักสูตร

  20. 8.เครื่องมือทางการบริหารที่นำมาใช้ควรมีอะไรบ้าง8.เครื่องมือทางการบริหารที่นำมาใช้ควรมีอะไรบ้าง 1.แผนพัฒนา • ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการ โรงเรียนคุณภาพประจำตำบลอย่างละเอียด • บริบทและความเป็นท้องถิ่นทั้งในด้านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อม • แผนกลยุทธ์ นโยบายสำคัญที่เกี่ยวข้องทั้งระดับชาติและท้องถิ่น

  21. 2.หลักสูตรสถานศึกษา • แผนกลยุทธ์ นโยบายสำคัญที่เกี่ยวข้องทังระดับชาติและท้องถิ่น • ความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับโครงการฯ และท้องถิ่น รวมทั้งแผนพัฒนา ที่กำหนดไว้

  22. 3.แผนอัตรากำลังและการพัฒนาบุคลากร3.แผนอัตรากำลังและการพัฒนาบุคลากร • ข้อมูลสารสนเทศที่เป็นปัจจุบัน และแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในระยะ 3 ปีล่วงหน้า • ข้อมูลเกี่ยวกับงบประมาณ บุคลากร และอื่นๆ ที่จะสนับสนุนให้การดำเนินงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์

  23. 4. แผนการพัฒนาและสร้างการมีส่วนร่วม • ข้อมูลสารสนเทศของหน่วยงาน เครือข่ายความร่วมมือ ของโครงการ หน่วยงานเกี่ยวข้อง และท้องถิ่น • การทำ MOU ระหว่างหน่วยงานเครือข่ายความร่วมมือ

  24. 5. แผนปฏิบัติการ • งบประมาณสำหรับการจัดกิจกรรมตามโครงการ /แผน • โครงการ/ แผน / กิจกรรม ที่สนองตอบแผนพัฒนา • บุคลากรที่เกี่ยวข้องทั้งในและนอกโรงเรียน

  25. 6. แผนนิเทศติดตามและประเมินผล • งบประมาณในการนิเทศฯ • บุคลากร และเครือข่ายความร่วมมือในการนิเทศ • เครื่องมือนิเทศที่มีมาตรฐาน

  26. 9.การประเมินความก้าวหน้าความสำเร็จและการรายงานต่อสาธารณชน9.การประเมินความก้าวหน้าความสำเร็จและการรายงานต่อสาธารณชน • การประเมินตนเองของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง • การประเมินโดยต้นสังกัด • การประเมินโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • การประเมินความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง • การประเมินโครงการ / แผน / กิจกรรม • รายงานโดยจัดทำเอกสาร แผ่นพับ สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ • รายงานผ่านระบบ Online สู่สาธารณชน • รายงานผ่านการประชุมในระดับชุมชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  27. 10. การนับถอยหลังจากวันนี้ถึงวันก่อน 16 พ.ค. 62 จะกำหนด Timeline อย่างไร โรงเรียน เขตพื้นที่ ชั้นเรียน ผู้เรียน • 18 ก.พ.62 • ประชุมบุคลากร รร. • SWOT ระดับ สพท/จังหวัด • MOU ระดับเขต /จังหวัด • กำหนดแผนพัฒนาระดับ สพท. • ฯลฯ • 5 มี.ค.62 • ประเมินตนเองในความพร้อม ความต้องการในการเรียนรู้ • พัฒนาตนเองให้สอดคล้องกับการสนใจ ความถนัด ของตนเอง • 25 ก.พ.62 • เตรียมข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง • พัฒนาตนเองให้มีความรู้ความเข้าใจ ในการพัฒนาหลักสูตร และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน • วางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน • จัดทำโครงการ/แผนตามที่กำหนดไว้ในระดับโรงเรียน • 19 ก.พ.62 • ประชุมบุคลากร รร. • ประชุมเครือข่ายความร่วมมือ • SWOT ระดับ รร./ท้องถิ่น • MOU ระดับ รร./ท้องถิ่น • กำหนดแผนพัฒนา • ฯลฯ

More Related