1 / 40

Advanced Counting Techniques

Advanced Counting Techniques. ความสัมพันธเวียนเกิด (Recurrence Relations). นิยาม 1

Download Presentation

Advanced Counting Techniques

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Advanced Counting Techniques

  2. ความสัมพันธเวียนเกิด(Recurrence Relations) นิยาม 1 • ความสัมพันธเวียนเกิด(Recurrence Relation) สําหรับลําดับ (sequence) {an} คือสมการที่แสดงความสัมพันธระหวาง an กับพจนที่มากอน คือ a0, a1, ., an-1 เมื่อ n  n0 และ n0 เปน จํานวนเต็มที่มากกวาหรือเทากับ 0 an = f(a0, a1, ., an-1 ) • บางครั้งเราเรียกว่า difference equation.

  3. ความสัมพันธเวียนเกิดความสัมพันธเวียนเกิด • ตัวอย่าง • n ! = n (n–1)! for n ≥1. • Fibonacci sequence an = an-1+ an-2 for n ≥3. • Pascal's recursion for the binomial coefficient is a two variable recurrence equation: C(n+1, k) = C(n, k) + C(n, k -1)

  4. ความสัมพันธเวียนเกิดความสัมพันธเวียนเกิด • ลำดับ { an}จะเป็นผลเฉลยของความสัมพันธ์เวียนเกิด ถ้าแต่ละพจน์ของลำดับสอดคล้องกับความสัมพันธ์เวียนเกิดนั้น • ปกติจะมีลำดับมากมายที่สอดคล้องกับสมการของความสัมพันธ์เวียนเกิด • ในการหาความสัมพันธ์เวียนเกิดนั้นจะต้องกำหนดเงื่อนไขเริ่มต้น(initial conditions)เสมอเช่น • In factorial recurrence we must specify 0! = 1. • In the Fibonacci recurrence we must specify a0and a1. • In Pascal's identity we must specify C(1,0) and C(1,1).

  5. ความสัมพันธเวียนเกิดความสัมพันธเวียนเกิด • จงพิจารณาว่าจากความสัมพันธ์เวียนเกิด an = 2an−1 − an−2 (n ≥2). ข้อใดต่อไปนี้เป็นผลเฉลยของความสัมพันธ์เวียนเกิดข้างต้นan = 3nan = 2n an = 5 Yes No Yes

  6. ความสัมพันธเวียนเกิดความสัมพันธเวียนเกิด • ลำดับที่เขียนเป็นสูตรได้ชัดแจ้งสามารถเขียนแทนด้วยความสัมพันธเวียนเกิดเช่น • ตัวอย่าง {an}เป็นลำดับที่มี an = f(n) = 3 n ดังนั้นจะนิยาม recursive ได้ดังนี้ • เงื่อนไขเริ่มต้น f(0) = 3 0 = 1 • ความสัมพันธเวียนเกิด f(n+ 1) = 3(n+1) = 3(3 n ) = 3 f(n) ดังนั้น f(n+1) = 3 f(n)

  7. Modeling with Recurrence Relations ตัวอยางที่ 1 ในหองทดลองทางชีววิทยาแหงหนึ่งพบวา จํานวนบักเตรีจะเพิ่มเปน 2 เทาในทุก ๆ ชั่วโมง สมมติวาเมื่อเริ่มตน ทดลองมีบักเตรี 5 ตัว อยากทราบวา จะมีบักเตรีทั้งหมดกี่ตัว หลังจากเวลาผานไปทั้งหมด n ชั่วโมง วิธีทํา กําหนดให an เปนจํ านวนของบักเตรีเมื่อสิ้นสุดชั่วโมงที่ n ซึ่งจะเปน 2 เทาของจํานวนบักเตรีใน 1 ชั่วโมงกอนหนานั้น (an-1) ดังนั้น an = 2 an-1 ........ (1) = 2 (2 an-2) = 22 an-2 = 22 (2 an-3)) = 23 an-3 . . . = 2 (2 (2 . 2 a0)) = 2n a0

  8. ในที่นี้ a0 คือจํานวนบักเตรีเมื่อเริ่มตนทดลอง ซึ่งมีคาดังนี้ a0 = 5 .......... (2) ดังนั้น an = 2n ✕ 5 .......... (3) • สมการ (1) เปนตัวอยางของความสัมพันธเวียนเกิด(Recurrence Relation) • สมการ (2) จะเรียกวา เงื่อนไขเริ่มตน • สมการ (3) จะเรียกวา คําตอบเฉพาะที่ใชคํานวณหา คําตอบเมื่อแทนคา n และเงื่อนไขเริ่มตน

  9. ตัวอยางที่ 3 นายอภิกุลนําเงิน 10,000 บาทไปฝากธนาคารแบบประจําไดดอกเบี้ย 11% (ดอกเบี้ยทบตน) อยากทราบวาเมื่อครบ 30 ป นายอภิกุลจะมีเงินในบัญชีกี่ บาท สมมตินายอภิกุลไมไดถอนเงินจากบัญชีนี้เลย วิธีทํา กําหนดให Pn เปนจํ านวนเงินในบัญชี เมื่อฝากครบ n ป เนื่องจากธนาคารใหดอกเบี้ย 11% ทุก ๆ ปของเงินตนของปกอนหนานั้น นั่นคือ Pn = Pn-1 + (0.11 ✕Pn-1) = (1.11) Pn-1 = (1.11)(1.11 Pn-2)=(1.11)2Pn-2 . . . = (1.11)nPn-n = (1.11)nP0

  10. แต P0 = 10,000 บาท ดังนั้น P30 = (1.11)30 ✕10,000 = 228,992.97 บาท

  11. ตัวอยางที่ 4 • ความสัมพันธเวียนเกิดที่เปนที่รูจักกันดีอันหนึ่งในกลุม นักคณิตศาสตร็ คือ ปญหาของ Leonard diPisa. ซึ่งรูจักกันในนาม Fibonacci. Fibonacci ไดตั้งปญหาในหนังสือ Liber abaci. ราว ๆ คริสศตวรรษที่13 ดังนี้ กระตายแรกเกิดเพศผูและเพศเมียคูหนึ่งถูกนําไปปลอยไวที่เกาะแหงหนึ่ง อยากทราบวาจะมีกระตายทั้งหมดกี่คูเมื่อเวลาผานไป n เดือน โดยมีขอสมมติวา เมื่อกระตายทั้งสองมีอายุครบ 2 เดือนจึงจะสามารถให้กําเนิดกระตายเพศผูและเพศเมียอีก 1 คู และเมื่อจุดเริ่มตนบนเกาะนั้นไมมี กระตายอยูเลย

  12. กระตายที่เกิดใหม กระตายที่มีอยูเดิม

  13. วิธีทํ า กําหนดให fn เปนจํ านวนคูของกระตาย เมื่อตอนตนเดือนที่ n สังเกตจากภาพที่ 1 จะเห็นวา จํานวนกระตายเมื่อตนเดือนที่ 3 เทากับจํานวนกระตายเมื่อตนเดือนที่ 2บวกกับจํานวนกระตาย เมื่อตนเดือนที่ 1 และจํานวนกระตายเมื่อตนเดือนที่ 4 เทากับ จํานวนกระตายเมื่อตนเดือนที่ 3 บวกกับจํานวนกระตายเมื่อ ตนเดือนที่ 2 เปนเชนนี้เรื่อย ๆ ไป ดังนั้น fn = fn-1 + fn-2 ..... (4) ถาเรากํ าหนด f0 = 1 แลวสมการ (4) จะเปนไปไดสําหรับ n  2 และเราทราบวา f1 = 1 ดังนั้น f2 = f1 + f0 = 2 f3 = f2 + f1 = 3 f4 = f3 + f2 = 5 f5 = f4 + f3 = 8

  14. ตัวอย่างที่5 หอคอยแหงฮานอย โจทยปญหาที่โดงดังอีกปัญหาหนึ่งในปลายคริสศตวรรษที่ 18 คือ หอคอยแหงฮานอย ซึ่งตั้งคําถามวา จงหาจํานวนวิธีในการเคลื่อนยายแผนไมจากเสาที่ 1 ซึ่งวางเรียงซอนกันจากแผน ใหญสุดไปยัง แผนที่เล็กที่สุด ดังภาพ ไปยังเสาตน อื่นภายใต ขอตกลงดังตอไปนี้

  15. ขอตกลงดังตอไปนี้ 1. สามารถเคลื่อนยายแผนไมไดทีละ 1 แผนเทานั้น 2. แผนไมที่ถูกเคลื่อนยายจะนําไปไวที่เสาใดก็ได แตมีเงื่อนไขวาแผนไมที่มีขนาดใหญจะวางซอนบน แผนไมที่มีขนาดเล็กกวา ไมได

  16. วิธีทํ า กําหนดให Hn เปนจํ านวนครั้งของการยายแผนไมจากเสาตนที่ 1 ไปยังเสาตนอื่น ถาเราเริ่มตนจากมีแผนไม n แผนบนเสาที่ 1 เราสามารถยายแผนไม n-1 แผนตามขอตกลงไปไวที่เสาที่ 3 ดังในภาพที่ 3 โดยใชจํานวนครั้งในการยาย แผนไมทั้งหมด Hn-1 ครั้ง หลังจากนั้นยาย แผนไมที่ใหญที่สุดไปไวที่เสาที่สองแลวเราก็ ยายแผนไม n-1 แผนจากเสาที่ 3 ไปยังเสาที่ 2 โดยใชจํานวน ครั้งที่ยายเปน Hn-1 ครั้ง

  17. หอคอยแหงฮานอย • ปัญหา:ต้องการย้ายแผ่นไม้จากเสาที่ 1 ไปไว้เสาที่2 • กฏ: • (a) สามารถเคลื่อนยายแผนไมไดทีละ 1 แผน เทานั้น • (b) แผนไมที่ถูกเคลื่อนยายจะนําไปไวที่เสาใดก็ได แตมีเงื่อนไขวาแผนไมที่มีขนาดใหญจะวางซอนบน แผนไมที่มีขนาดเล็กกวาไมได Peg #1 Peg #2 Peg #3

  18. ดังนั้นจํ านวนครั้งของการยายแผนไมทั้งหมด n แผน คือ Hn = 2 Hn-1 + 1 โดยที่ H1 = 1 เพราะวาเราสามารถยายแผนไม 1 แผนจากเสาที่ 1 ไปยังเสาที่ 2 ไดโดยจํานวนครั้งที่นอยที่สุดเปน 1 ครั้ง ถาเราใชวิธีการแทนคาดวยเทอมที่อยูกอนหนานั้นเสมอจะไดวา Hn = 2 Hn-1 + 1 = 2 (2 Hn-2 + 1) + 1 = 22Hn-2 + 2 + 1 = 22 (2Hn-3 + 1) + 2 + 1 = 23Hn-3 + 22 + 2 + 1 . . . = 2n-1Hn-1 + 2n-2+ ... + 2 + 1 = 2n-1 + 2n-2+ ... + 22 + 1 = 2n – 1 ............ (5)

  19. นิยายปรัมปราเกี่ยวกับหอคอยแหงฮานอยเลาวาพระที่ประจําอยูในหอคอยแหงฮานอยประกาศวา ถาทานจะยายแผนทองคําจํานวน 64 แผน โดยในการยาย แผนทองคํา 1 แผน ใชเวลา 1 วินาทีเทานั้น แลว • เมื่อทานยายแผนทองคําจากเสาตนที่ 1 ไปยังเสา • ตนอื่นเสร็จสิ้น โลกก็จะแตกสลายไปแลว • จากสมการ (5) จะไดวา จํานวนครั้งของการยาย H64 = 264- 1 = 18,446,774,073,709,551,615 • ซึ่งถายาย 1 แผนใชเวลา 1 วินาที แลวจะใชเวลาทั้งหมด มากกวา 500 พันลานปทีเดียว

  20. การแกสมการความสัมพันธเวียนเกิดการแกสมการความสัมพันธเวียนเกิด ความสัมพันธเวียนเกิดมีรูปแบบตาง ๆ กัน บางแบบสามารถหาคําตอบไดงายโดยการแทนคาไป เรื่อย ๆ ก็จะไดเทอม an อยูในรูปของเงื่อนไขเริ่มตน (a0, a1 หรือ a2) ดังในตัวอยางที่ 1, 3 และตัวอยางที่ 5 ที่ผานมาซึ่งเราเรียกวา การทําซํ้ า (Iteration) และอีกวิธีหนึ่งที่จะกลาวถึงตอไปนี้เปนวิธีเฉพาะที่ใชกับสมการความสัมพันธเวียนเกิดเชิงเสน (Linear recurrence Relations)

  21. ความสัมพันธเวียนเกิดเชิงเสนความสัมพันธเวียนเกิดเชิงเสน • นิยาม ความสัมพันธเวียนเกิดในรูป an = c1an-1 + c2 an-2 +. ck an-k......(6) โดยที่ ci เปนคาคงที่ (i = 1, 2, ., k) ถา ck ≠ 0 แลวเราเรียกความสัมพันธนี้วา ความสัมพันธเวียนเกิดเชิงเสนลําดับที่ k

  22. ความสัมพันธเวียนเกิดเชิงเสนความสัมพันธเวียนเกิดเชิงเสน • ตัวอย่างความสัมพันธเวียนเกิดเชิงเสน • an= (1.11) an-1: of degree one. • an= an-1+ an-2: of degree two. • an= an-5: of degree five. • ตัวอย่างที่ไม่ใช่ความสัมพันธเวียนเกิดเชิงเสน􀁺 • an= an-1+ (an-2)2: is not linear. • an= 2an-1+ 1: is not homogeneous. • an= nan-1: does not have constant coefficients.

  23. การแกสมการความสัมพันธเวียนเกิดการแกสมการความสัมพันธเวียนเกิด คําตอบทั่วไป (general solution) ของสมการ (6) จะอยูในรูปผลบวกของคําตอบพื้นฐาน (basic solution) ซึ่งมีวิธีการหาดังนี้ ให้ an = rn เมื่อ r เปนคาคงที่ เป็นคำตอบทั่วไป และเมื่อแทนคา an = rn ลงในสมการ (6) จะได rn = c1 rn-1 + c2 rn-2 + ... + ck rn-k เมื่อหารทั้งสองขางดวย rn-k แลวจะได rk = c1 rk-1 + c2 rk-2 + ... + ck หรือ rk - c1 rk-1 - c2 rk-2 - ... - ck = 0 ....... (7) เราเรียกสมการ (7) นี้วา สมการลักษณะ (characteristic equation)

  24. การแกสมการความสัมพันธเวียนเกิดการแกสมการความสัมพันธเวียนเกิด • เนื่องจากสมการ (7) เปนสมการที่อยูในรูปนิพจนพหุนาม (Polynomial) ลําดับที่ k ดังนั้นจะมีคําตอบสําหรับ r ทั้งหมด k คําตอบ • กําหนดให ri (i = 1, 2,.,k) เปนคําตอบทั้ง k คําตอบ ดังนั้น an = rin จึงเปนคําตอบพื้นฐานคําตอบหนึ่งของความสัมพันธเวียนเกิดนั่นคือ คําตอบทั่วไปจะอยูในรูป an = A1 r1n + A2 r2n + ... + Ak rkn....... (8) โดยที่ Ai (i = 1, 2,..., k) เปนคาคงที่ ที่คาของมันขึ้นอยูกับเงื่อนไขเริ่มตน

  25. ทฤษฎีบท 1 ให้c1 , c2 ,..., ck เป็นจำนวนจริง สมการลักษณะ rk - c1 rk-1 - c2 rk-2 - ... - ck = 0 มีรากลักษณะที่แตกต่างกัน k รากคือ r1 , r2 ,..., rk แล้วลำดับ {an } เป็นผลเฉลยของความสัมพันธ์เวียนเกิด an = c1an-1 + c2 an-2 +. ck an-k ก็ต่อเมื่อ an = A1 r1n + A2 r2n + ... + Ak rkn สำหรับ n= 1,2,… เมื่อ A1 , A2 ,..., Ak เป็นจำนวนจริง

  26. ตัวอย่าง จงหาคําตอบของความสัมพันธเวียนเกิด an = an-1 + 2 an-2 เมื่อ a0 = 2 และ a1 = 7 วิธีทํ า จากสมการพื้นฐาน an = rn จะไดสมการลักษณะดังนี้ rn = rn-1 + 2 rn-2 หรือ r2 - r - 2 = 0 (r - 2) (r + 1) = 0 r = 2, -1

  27. ตัวอย่าง จงหาคําตอบของความสัมพันธเวียนเกิดan = an-1 + 2 an-2 เมื่อ a0 = 2 และ a1 = 7 ดังนั้นคํ าตอบทั่วไปคือ an = A1 2n + A2 (-1)n เมื่อแทนเงื่อนไขเริ่มตน a0 และ a1 จะได a0 = 2 = A1 20 + A2 (-1)0 2 = A1 + A2......... (a) a1 = 7 = A1 21 + A2 (-1)1 7 = 2A1 - A2......... (b) แกสมการ (a) กับ (b) จะได A1 = 3, A2 = -1 ดังนั้นคํ าตอบของความสัมพันธเวียนเกิดคือ an = 3.2n + (-1)(-1)n an = 3.2n - (-1)n

  28. ตัวอย่าง จงหาคําตอบของความสัมพันธเวียนเกิดan = 6an-1 - 11 an-2 + 6 an-3 เมื่อ a0 = 2 , a1 = 2 และ a2 = 15 วิธีทํ า จากสมการพื้นฐาน an = rn จะไดสมการลักษณะดังนี้ rn = 6rn-1 - 11 rn-2 + 6 rn-3 หรือ r3 - 6r2 +11 r - 6 = 0 (r - 1) (r - 2) (r - 3) = 0 r = 1, 2, 3

  29. ตัวอย่าง จงหาคําตอบของความสัมพันธเวียนเกิดan = 6an-1 - 11 an-2 + 6 an-3 เมื่อ a0 = 2 , a1 = 2 และ a2 = 15 ดังนั้นคํ าตอบทั่วไปคือ an = A1 (1)n + A2 (2)n +A3 (3)n เมื่อแทนเงื่อนไขเริ่มตน a0 , a1 และ a2 จะได a0 = 2 = A1 (1)0 + A2 (2)0 +A3 (3)0 2 = A1 + A2 + A3......... (a) 5 = A1 + 2A2 + 3A3......... (b) 15 = A1 + 4A2 + 9A3......... (c) แกสมการ (a) , (b),(c) จะได A1 = 1, A2 = -1 , A3 = 2 ดังนั้นคํ าตอบของความสัมพันธเวียนเกิดคือ an = 1 (1)n - 1 (2)n +2(3)n an = 1 - 2n + 2.3n

  30. ทฤษฎีบท 2 ให้c1 , c2 ,..., ck เป็นจำนวนจริง สมการลักษณะ rk - c1 rk-1 - c2 rk-2 - ... - ck = 0 มีรากลักษณะที่ซ้ำกัน k รากคือ r1 = r2 =...= rk แล้วลำดับ {an } เป็นผลเฉลยของความสัมพันธ์เวียนเกิด an = c1an-1 + c2 an-2 +. ck an-k ก็ต่อเมื่อ an = (A1 + A2 n+ A3 n2 + ... + Ak n k-1 ) r1n สำหรับ n= 1,2,… เมื่อ A1 , A2 ,..., Ak เป็นจำนวนจริง

  31. ตัวอย่าง จงหาคําตอบของความสัมพันธเวียนเกิดan = 6an-1 - 9 an-2 เมื่อ a0 = a1 = 1 วิธีทำ หาสมการลักษณะได้คือ r 2- 6r + 9 =0 (r –3)2= 0 r1= r2= 3 คำตอบทั่วไปคือ an= A13n+ A2n3n แทนค่าจากค่าเริ่มต้น a0 = a1 = 1 จะได้ค่า A1= 1, A2= -2/3 an = 3n - 2n(3n-1 )

  32. ตัวอย่าง จงหาคําตอบของความสัมพันธเวียนเกิดan = -3an-1 - 3 an-2 - an-3 เมื่อ a0 =1, a1= -2, a1 = -1 วิธีทำ จาก an = -3an-1 - 3 an-2 - an-3 เมื่อ a0 =1, a1= -2, a1 = -1 เป็นความสัมพันธเวียนเกิดเชิงเส้นเอกพันธ์อันดับ 3 หาสมการลักษณะได้คือ r 3 + 3r 2 + 3r + 1 =0 (r +1)3= 0 r= -1, -1, -1 คำตอบทั่วไปคือ an= A1(-1)n+ A2 n (-1)n + A3 n2 (-1)n แทนค่าจากค่าเริ่มต้น a0 =1, a1= -2, a1 = -1 จะได้ค่า A1 = 1 ...............(1) -A1 - A2 - A3 = -2 ...............(2) A1 + 2A2 + 4A3 = -3 ...............(3)

  33. จากสมการ (1) –(3) จะได้ค่า A1= 1, A2= 3 และ A3= -2 ดังนั้นผลเฉลยคือ an = (1 +3 n -2 n2 ) (-1)n-1 เมื่อ n  3

  34. ฟังก์ชันก่อกำเนิด (Generating Functions) นิยาม ให้ a0, a1, a2, … เป็นลำดับชุดหนึ่งของจำนวนจริง ฟังก์ชัน G(x) = a0 + a1x + a2x2 + … หรือ จะเรียกว่าฟังก์ชันก่อกำเนิด (generating function)

  35. ฟังก์ชันก่อกำเนิด ตัวอย่าง • สมมติลำดับคือ 1 , 1, 1,… ฟังก์ชันก่อกำเนิดสำหรับลำดับที่กำหนดคือ • สมมติลำดับคือ 0, 1, 2,3,… ฟังก์ชันก่อกำเนิดสำหรับลำดับที่กำหนดคือ

  36. ฟังก์ชันก่อกำเนิด ตัวอย่าง • สมมติลำดับจำกัดคือ {1 , 1, 1}และกำหนด S={1,1,1,0,0,0,…} ฟังก์ชันก่อกำเนิดสำหรับลำดับที่กำหนดคือ

  37. ฟังก์ชันก่อกำเนิด

  38. ฟังก์ชันก่อกำเนิด • สมมติลำดับ {20 , 21, 22,…} ฟังก์ชันก่อกำเนิดจะเป็น f(x) = 20 + 21 x + 22 x2 + … + 2r xr + … เราสามารถเขียน f(x) ให้อยู่ในรูปที่สั้นกว่าได้โดย

  39. ฟังก์ชันก่อกำเนิด • ฟังก์ชันก่อกำเนิดสามารถดำเนินการโดยใช้กฎพีชคณิตได้ดังนี้ • ให้ F(x) และ G(x) เป็นฟังก์ชันก่อกำเนิดดังนี้ จะได้ว่า

More Related