400 likes | 591 Views
หน่วยที่ 2 2.3.การนำมาตรฐานสู่การปฏิบัติ. อธิบายกระบวนการนำมาตรฐานสู่การปฏิบัติ อธิบายขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา กำหนดกิจกรรม/โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามปัญหาที่พบ. จุดประสงค์การเรียนรู้. มาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานการศึกษาต้นสังกัด มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
E N D
หน่วยที่ 22.3.การนำมาตรฐานสู่การปฏิบัติ
อธิบายกระบวนการนำมาตรฐานสู่การปฏิบัติอธิบายกระบวนการนำมาตรฐานสู่การปฏิบัติ อธิบายขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา กำหนดกิจกรรม/โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามปัญหาที่พบ จุดประสงค์การเรียนรู้
มาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานการศึกษาต้นสังกัด มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แนวทางการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา การจัดทำแผนปฏิบัติประจำปี และโครงการ/กิจกรรม การนำแผนพัฒนาสู่การปฏิบัติ ขอบข่ายเนื้อหา
หน่วยงานต้นสังกัดแต่ละสังกัดพัฒนามาตรฐานหน่วยงานต้นสังกัดแต่ละสังกัดพัฒนามาตรฐาน เขตพื้นที่การศึกษาและจังหวัด พัฒนาและเพิ่มมาตรฐานที่ แสดงอัตลักษณ์ สถานศึกษาในสังกัดพัฒนาและเพิ่มมาตรฐานที่แสดงอัตลักษณ์ การพัฒนา/เพิ่ม อาจเป็น ตัวบ่งชี้ / มาตรฐาน มาตรฐานการศึกษาชาติ
เพิ่มตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีคุณธรรมฯ 1.11.ร้อยละของผู้เรียนใช้วาจาที่สุภาพและเหมาะสมกับ กาลเทศะ มาตรฐานอัตลักษณ์ จังหวัดพิษณุโลก เพิ่มมาตรฐานที่ 19 ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจในจังหวัดพิษณุโลก มี 3 ตัวบ่งชี้ ตัวอย่างมาตรฐานของร.ร.สตรีเฉลิมขวัญ
1. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2. การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ 3. การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา 4. การดำเนินการตามแผนพัฒนาสถานศึกษา 5. การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพภายในสถานศึกษา 6.การประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนด แนวทางการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ ใช้วงจรคุณภาพ
การวางระบบ (Plan) * กระบวนการในระบบย่อย * แต่ละขั้นตอนมีวิธีปฏิบัติที่ยึดหลักวิชาการ * กำหนดให้มีการบันทึกผลการปฏิบัติงานที่สามารถตรวจสอบได้ * กำหนดร่องรอยหลักฐานการทำงานที่สะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้
การทำตามระบบ(DO) *ร่วมกันปฏิบัติตามแผนที่กำหนด *รับผิดชอบระบบย่อย * สร้างร่องรอยการปฏิบัติงานที่รับผิดชอบ
การตรวจสอบและทบทวน(ChecK)การตรวจสอบและทบทวน(ChecK) • ร่วมกันตรวจสอบและประเมินตนเอง • ผลัดเปลี่ยนกันประเมินภายในระหว่างปฏิบัติงาน • บันทึกผลการตรวจสอบ ปัญหาอุปสรรค แนวทางแก้ไข • สรุปผลการประเมินเพื่อเตรียมบันทึกข้อมูลในระบบสารสนเทศ
การปรับปรุง พัฒนาระบบ (ACT) • นำปัญหา อุปสรรค มาดำเนินการแก้ไข • บันทึกผลการพัฒนาปรับปรุง • เปรียบเทียบผลกับเป้าหมาย • สรุปผลการประเมินผลการปรับปรุง และนำข้อมูลปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศ
เป็นกระบวนที่สำคัญที่สถานศึกษาจะต้องดำเนินการ เป็นการกำกับ ติดตามความก้าวหน้าของผลการดำเนินงานตามแผน ตรวจสอบขณะปฏิบัติงาน เทียบกับเป้าหมาย ถ้าพบไม่เป็นไปตามเป้าหมาย มีการพัฒนาปรับปรุงเป็นระยะ ๆ เป็นการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพข้อมูลที่ได้จากการประเมินส่งผลถึงการพัฒนาระบบการประเมินตนเอง การตรวจสอบและทบทวนคุณภาพ
ข้อมูลสารสนเทศจากการตรวจสอบและทบทวน ถือเป็นข้อมูลที่นำมาประเมินตนเองโดยนำข้อมูลเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนด ข้อมูลสารสนเทศที่ได้จากการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากหน่วยงานต้นสังกัด และ สทศ. ถือเป็นข้อมูลอีกส่วนหนึ่งในการประเมินตนเอง ตั้งคณะทำงานมาดำเนินการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลดังกล่าว สรุปรายงานการประเมินตนเอง (SAR) การประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษา
มีขั้นตอน 6 ขั้นตอนดังนี้ 1. ศึกษาข้อมูลสารสนเทศ ของผลการประเมินของปีที่ผ่านมาเพื่อหาจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา โอกาสในการพัฒนา อุปสรรค 2. วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และแนวทางแก้ไข 3.กำหนดเป้าหมายและแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา 4.กำหนดแผนปฏิบัติการรายปี 5.การเขียนโครงการ/กิจกรรม 6.การนำแผนพัฒนาคุณภาพสู่การปฏิบัติ การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา
1. ศึกษาข้อมูลสารสนเทศ ของผลการประเมินของปีที่ผ่านมาเพื่อหาจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา โอกาสในการพัฒนา อุปสรรค * SAR * ประเมินภายนอก (สมศ.) * รายงานโครงการ/กิจกรรม จุดเด่น (Strength)จุดที่ควรพัฒนา(Weakness) โอกาสการพัฒนา(Opportunity) อุปสรรค(Theats) การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา
วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาและแนวทางแก้ไขวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาและแนวทางแก้ไข จากปัญหาที่ได้จากการศึกษาข้อมูล อาจเกิดจากสาเหตุจาก ผู้เรียน ผู้สอน ผู้บริหาร/สถานศึกษา การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา
ตัวอย่างการวิเคราะห์สาเหตุปัญหาผลสัมฤทธิ์ต่ำตัวอย่างการวิเคราะห์สาเหตุปัญหาผลสัมฤทธิ์ต่ำ
ตัวอย่างการวิเคราะห์สาเหตุปัญหาผลสัมฤทธิ์ต่ำตัวอย่างการวิเคราะห์สาเหตุปัญหาผลสัมฤทธิ์ต่ำ
หลักการกำหนดนโยบาย * ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ * มุ่งเน้นผลผลิตและผลลัพธ์สนองต่อมาตรฐาน * กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จชัดเจน สามารถสังเกตได้วัดได้ * มีกรอบเวลาที่เหมาะสมที่จะบรรลุมาตรฐาน 3.กำหนดเป้าหมายพัฒนาและแผนยุทธศาสตร์
การบริหารที่มุ่งผลสัมฤทธิ์การบริหารที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดคุ้มค่าเกิดประโยชน์สูงสุด บรรลุตามวัตถุประสงค์และสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน ประสิทธิภาพ (Efficiency) ประสิทธิผล (Effectiveness)
กรอบแนวคิดมุ่งผลสัมฤทธิ์: การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ผลสัมฤทธิ์(Result) ปัจจัยนำเข้า (Input) ผลผลิต (Output) ผลลัพธ์ (Outcome) กิจกรรม (Process) วัตถุประสงค์ (Objectives) ประสิทธิภาพ(Efficiency) ประสิทธิผล (Effectiveness)
ผลงานจากการดำเนินการของโรงเรียนให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ ซึ่งเรียกว่าผลทางตรง เช่น วัตถุประสงค์ : ครูมีความรู้ความสามารถในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา กิจกรรม : อบรมครูให้มีศักยภาพด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ ผลผลิต : จำนวนครูที่ผ่านการอบรมพัฒนาศักยภาพฯ ร้อยละของครูที่จัดกระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ ศักยภาพของผู้เรียน ความหมายของผลผลิต
ผลกระทบที่ตามมาซึ่งมีความสัมพันธ์ต่อเนื่องจากผลผลิต เช่นผลผลิตข้างต้นก่อให้เกิดผลลัพธ์ ดังนี้ ผลลัพธ์ : ร้อยละของนักเรียนทีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ร้อยละของนักเรียนที่ผ่านการประเมินการคิด วิเคราะห์ และคิดสร้างสรรค์ จำนวนนักเรียนที่ได้รับรางวัลพระราชทาน ความหมายของผลลัพธ์
สัมฤทธิ์ = ผลผลิต + ผลลัพธ์ ผลสัมฤทธิ์ คือ ผลรวมของผลผลิตและผลลัพธ์
การเปรียบเทียบปัจจัยนำเข้า (Input) กับผลผลิต (Output) หากผลผลิตเพิ่มขึ้นมากกว่าการเพิ่มขึ้นของปัจจัยนำเข้าแสดงถึงความมีประสิทธิภาพของหน่วยงาน ความหมาย ประสิทธิภาพ (Efficiency)
การเปรียบเทียบค่าผลลัพธ์(Outcomes) ของงานหรือโครงการนั้นว่าบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่เพียงใด ความหมาย ประสิทธิผล (Effectiveness)
ตัวอย่างตัวชี้วัดผลผลิต และผลลัพธ์
ตัวอย่างตัวชี้วัดผลผลิต และผลลัพธ์
การกำหนดแผนยุทธศาสตร์ ประกอบด้วยหัวข้อ * เป้าหมายการพัฒนา * ตัวชี้วัดความสำเร็จ * ยุทธศาสตร์ที่ใช้พัฒนา * ผู้รับผิดชอบ * ระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด 3.กำหนดแผนยุทธศาสตร์
จากแผนยุทธศาสตร์แต่ละยุทธศาสตร์ นำมาจัดทำแผนปฏิบัติการรายปี ที่ระบุ * ผู้รับผิดชอบ *กรอบเวลา *ทรัพยากรที่จำเป็น เช่นบุคลากร งบประมาณ * ตัวชี้วัดความสำเร็จ * วิธีการ/นวัตกรรมที่ใช้ 4.การกำหนดแผนปฏิบัติการรายปี
เป้าหมายการพัฒนา: ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระหลัก ยุทธศาสตร์ : โครงการปฏิรูปการเรียนรู้ 5 กลุ่มสาระหลัก ตัวอย่างแผนปฏิบัติการรายปี
ตัวอย่างแผนปฏิบัติการรายปี : โครงการปฏิรูปการเรียนรู้ฯ
จากแผนปฏิบัติประจำปี มาจัดทำโครงการ และรายละเอียดของกิจกรรม ก่อนจัดทำโครงการ อาจจัดทำกรอบความคิดของโครงการเพื่อแสดงชัดเจนว่า โครงการมีกิจกรรมย่อยอะไร มีอะไรที่เป็นตัวชี้วัดความสำเร็จแต่ละกิจกรรมย่อย 5. การจัดทำโครงการ/กิจกรรม
เป้าหมายการพัฒนา: ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ฯ กิจกรรม พัฒนาครู 5 กลุ่มสาระหลัก นวัตกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครูเก่ง ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 80 ครูได้เทคนิคการสอน และนำไปใช้ ผู้รับผิดชอบ หัวหน้ากลุ่มสาระ 5 กลุ่ม กรอบความคิด: โครงการปฏิรูปการเรียนรู้ ฯ
จุดประสงค์ของกิจกรรม วิธีดำเนินการ (P D C A ) การประเมินผล ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร่องรอยหลักฐานการดำเนินงาน ส่งผลต่อมาตรฐานและตัวบ่งชี้ นำกรอบความคิดมาจัดทำรายละเอียดแต่ละกิจกรรม
ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน 1. สร้างการยอมรับ 2. มอบหมายการปฏิบัติงานอย่างเป็นทางการ 3. ทำความเข้าใจส่วนต่าง ๆ ของแผน การนำแผนพัฒนาคุณภาพสู่การปฏิบัติ
นำร่างสุดท้ายแผนพัฒนา เข้าสู่การพิจารณา ให้ข้อคิดเพิ่มเติม จาก บุคลากรของสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน เขตพื้นที่ ขั้นการสร้างการยอมรับ
มอบหมายผู้รับผิดชอบ โดยการส่งมอบแผนให้หัวหน้ากลุ่ม หัวหน้าระดับชั้น ตามสายงานบังคับบัญชา และทีมงานอย่างเป็นทางการ ขั้นการมอบหมายการปฏิบัติอย่างเป็นทางการ
ผู้ปฏิบัติทำความเข้าใจผู้ปฏิบัติทำความเข้าใจ * เจตนารมณ์ของสถานศึกษา * เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ เทคนิควิธีการ * แผนปฏิบัติการรายปี * การประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขั้นการทำความเข้าใจแผนพัฒนาคุณภาพ