880 likes | 1.03k Views
ความสำคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษย์. อ.สมศรี เหรัญญะ. ความสำคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษย์. ร่างกาย ปัญญา เวลา คือต้นทุนที่ธรรมชาติให้มา จงรีบลงทุน
E N D
ความสำคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ความสำคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ อ.สมศรี เหรัญญะ
ความสำคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ความสำคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ • ร่างกาย ปัญญา เวลา คือต้นทุนที่ธรรมชาติให้มา จงรีบลงทุน • ร่างกายมนุษย์เหมือนเครื่องจักร ประกอบด้วยจักร 4 ทวาร 9 จักร 4 ได้แก่ อิริยาบถเคลื่อนไหว 4 ได้แก่ นั่ง นอน ยืน เดิน มีธาตุ 4 คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ ทวาร 9 ได้แก่ ตา 2 จมูก 2 หู 2 ปาก 1 ทวาร 1 และทวารหนัก 1 รวมเป็น 9 • มนุษย์ได้รับการฝึกฝนได้ จึงมีโอกาสที่จะถูก “ปั้นดิน ให้เป็นดาว” ได้ • ผู้มีความสามารถมาก ทำอะไรก็ย่อมทำได้ และทำเป็นผลดีได้เสมอ อ.สมศรี เหรัญญะ
ความสำคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษย์(ต่อ) ความสำคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษย์(ต่อ) • มนุษย์สามารถรับรู้ได้ ทางหน้าต่างความรู้ และประตูปัญญา • การเพิ่มสมรรถนะการทำงานของมนุษย์ อาทิ นักการ ภารโรง หรือใครๆ ก็ตาม ก็สามารถเป็น “มืออาชีพ” ได้ด้วยกันทั้งนั้น จะรู้อะไร ก็ขอให้รู้กระจ่างเพียงอย่างเดียว ก็สามารถที่จะเก่ง และเชี่ยวชาญถึงระดับมืออาชีพได้ • จงปฏิบัติตน ให้เป็นบุคคลที่มุ่งใฝ่รู้ ใฝ่เรียน แสวงหาความรู้เพิ่มเติมให้แก่ตนเองอยู่ตลอดชีวิต แล้วจะมีแต่ความสุขความเจริญ อ.สมศรี เหรัญญะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ • การศึกษาระดับปริญญาโท และเอก สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ต่างๆ อันเป็นการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จำเป็นจะต้องทำการศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ด้วย เพราะวิชานี้สำคัญยิ่ง เนื่องจากมนุษย์ที่เรานิยมเรียกกันว่า ทรัพยากรมนุษย์ (Human Resources)นั้น จัดว่าเป็นปัจจัยสู่ความสำเร็จของทุกองค์การ ที่ถือกันว่า เป็นปัจจัยสำคัญที่สุดในบรรดาทรัพยากร 4’m ด้วยกัน (ได้แก่ Man คน มนุษย์ Money เงินทอง ทรัพย์สิน Materials วัตถุดิบเพื่อการผลิต Machine/equipments วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ) อ.สมศรี เหรัญญะ
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ • มนุษย์ นับเป็นทรัพยากรที่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่ม ยิ่งแก่ ยิ่งเก่า ยิ่งใช้มากๆ ก็ยิ่งมีทักษะสูง มีประสบการณ์มากยิ่งขึ้นไปเรื่อยๆ เรียกได้ว่า แก่แบบกระดังงาลนไฟ ยิ่งลนก็ยิ่งหอม ซึ่งตรงกันข้ามกับทรัพยากรอื่น เช่น รถยนต์ ยิ่งใช้ไปยิ่งเสื่อมสภาพ และมีอัตราการเสื่อมสภาพที่ค่อนข้างสูงมาก จะเห็นได้ว่า บรรดาข้าวของเครื่องใช้ต่างๆ เมื่อเก่า ก็แทบจะหมดสิ้นราคาลงไป เว้นไว้แต่บรรดาของที่หายากที่จะกลับมาราคาแพงมากยิ่งขึ้น เนื่องด้วยความมีเป็นจำนวนน้อย และหายากนั้น มนุษย์ที่แก่ไปด้วยความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ เป็นมนุษย์ที่แก่กล้าในเชิงวิชาการ จึงมีสภาพเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานเป็นอย่างมาก แม้ว่าจะมีอายุล่วงเลยวัยเกษียณอายุไปแล้วก็ตาม
วิสัยทัศน์ประเทศไทย ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 • มุ่งพัฒนาสู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน คนไทยมีคุณธรรม นำความรอบรู้ รู้เท่ากันโลก ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สังคมสันติสุข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพและเป็นธรรม สิ่งแวดล้อมมีคุณภาพ และทรัพยากรธรรมชาติที่ยั่งยืน อยู่ภายใต้ระบบบริหารจัดการประเทศที่มีธรรมาภิบาล ดำรงไว้ซึ่งระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและอยู่ในประชาคมโลกได้อย่างมีศักดิ์ศรี
วิสัยทัศน์ประเทศไทย ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 • ด้วยเหตุนี้ประเทศไทย จึงมีลักษณะคล้ายกับประเทศภูฎาน ที่มุ่งเน้นการมี GDH:Gross Domestic Happinessที่เรียกว่า ดัชนีความสุขของประเทศ มุ่งให้ประชาชนของประเทศมีความสุขในการดำรงชีวิต มากกว่าที่จะมุ่งเน้นแข่งขันกันอย่างเอาเป็นเอาตาย เพื่อเพิ่ม GDHของประเทศ
ประเทศภูฎาน • รัฐบาลให้ความสนใจอย่างมาก เกี่ยวกับทุกข์สุขของประชาชน เขาควบคุมดูแล มิให้มีนักท่องเที่ยวเข้าประเทศมากเกินไป ด้วยเกรงไปว่า หากมีคนต่างด้าว จำพวกนักท่องเที่ยวเดินทางเข้าไปเที่ยวในประเทศของเขามากเกินไปแล้ว (จำกัดไว้ให้ไม่เกินวันละ 500 คนต่อวัน และแต่ละคนจะต้องเสียค่าอยู่ในประเทศของเขาวันละ 100 เหรียญสหรัฐหรือประมาณ 3,500 บาท) ไม่อยากให้วัฒนธรรมตะวันตกหลั่งไหลเข้าประเทศของเขามากนัก เขาต้องการรักษาเอกลักษณ์แห่งชาติของเขาเอาไว้ ว่าเป็นชาติรักสงบ พอเพียง มีความเป็นตัวของตัวเองสูง หากวัฒนธรรมตะวันตกหลั่งไหลเข้าไปโจมตีเขามากขึ้น ความเป็นชาติของเขาก็จะเลือนรางลงไป
ประเทศไทย • ประเทศไทยเรา ไม่ใคร่ห่วงเรื่องนี้มากนัก ปรากฏว่า มีผู้อพยพหลบหนีเข้าเมือง แอบแฝงอาศัยอยู่ในประเทศเป็นจำนวนมาก พลอยส่งผลให้ประชาชนคนไทยโดยทั่วไป ได้รับความลำบากเดือดร้อนมากยิ่งขึ้น ต้องแย่งกันทำมาหากินมากยิ่งขึ้น และเริ่มมีความสุขน้อยลง
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ • การมีพื้นความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญาทรัพยากรมนุษย์ การบริหารจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์อย่างถูกต้องในเบื้องแรก จะเป็นการปูพื้นฐาน เป็นแนวทางที่ดีเยี่ยมในการนำพาผู้ที่ใฝ่ใจศึกษาด้านนี้ ให้พัฒนาตนเอง พัฒนาแนวความคิด พัฒนาวิธีการทำงานของตนไปสู่ “การเป็นทรัพยากรมนุษย์ผู้ทรงคุณค่าในองค์การ” การศึกษาวิชานี้ ได้ทำความรู้จัก สร้างความเข้าใจ ในศาสตร์แห่งการบริหารทรัพยากรมนุษย์นี้อย่างจริงจัง และหมั่นฝึกฝนทบทวน เพิ่มพูนทักษะ เพิ่มพูนประสบการณ์ ก็จะส่งผลให้ตนเองได้กลายเป็น “นักบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่ทรงคุณค่าได้เช่นกัน”
การออกแบบงานและการวิเคราะห์งานการออกแบบงานและการวิเคราะห์งาน • การวิเคราะห์งาน เป็นหน้าที่งานที่สำคัญอย่างหนึ่งของการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ มุ่งกระทำเพื่อประโยชน์แห่งการบริหารบุคคล เช่น การคัดเลือกพนักงาน การประเมินค่างาน การกำหนดค่าจ้างแรงงานสำหรับผู้เริ่มปฏิบัติงาน การฝึกอบรม ฯลฯ
การบริหารทรัพยากรมนุษย์การบริหารทรัพยากรมนุษย์ พ้นจากงาน ราชการ สรรหา พัฒนา รักษาไว้ ใช้ประโยชน์
กระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล การวางแผนกำลังคน การบรรจุแต่งตั้ง การทดลอง ปฏิบัติราชการ การบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ การกำหนดตำแหน่งและอัตราเงินเดือน การสรรหาและเลือกสรร การประเมินผลการปฏิบัติงาน การพัฒนาบุคคล คุณภาพชีวิต การเลื่อนตำแหน่ง การพ้นจากราชการ การเลื่อนขั้นเงินเดือน
โครงสร้างตำแหน่งข้าราชการพลเรือนในปัจจุบัน ... • ระบบจำแนกตำแหน่ง (Position Classification System) นำมาใช้ในการบริหารงานบุคคลแทนระบบชั้นยศเดิม ตั้งแต่ พ.ศ. 2518 • จัดโครงสร้างของตำแหน่ง(Common Level) เป็น 11 ระดับ ระดับ 11 ปลัดกระทรวง / ผู้ทรงคุณวุฒิ ระดับ 10 อธิบดี / รองปลัดกระทรวง / ผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 9 รองอธิบดี / ผอ.สำนัก / ผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 8 ผอ.กอง หัวหน้ากลุ่มงาน ระดับ 7 หัวหน้าฝ่าย งาน ระดับ 3-5 หรือ 6 ระดับ 2-4 หรือ 5 ระดับปฏิบัติการ ระดับ 1-3 หรือ 4
แนวคิด • จำแนกตำแหน่งตามความชำนาญเฉพาะทาง (Specialization) • กำหนดระดับตำแหน่งตามความยากและคุณภาพของงาน • กำหนดจำนวนตำแหน่งตามปริมาณงาน
ตำแหน่ง หมายถึง กลุ่มงานหรือกลุ่มหน้าที่ความรับผิดชอบ ที่คล้ายคลึงเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ที่มอบหมายให้ บุคคลใดบุคคลหนึ่งปฏิบัติ
หน้าที่ ความรับผิดชอบ ตำแหน่ง คุณสมบัติเฉพาะ สำหรับตำแหน่ง ค่าตอบแทน
ตำแหน่งในราชการพลเรือนสามัญตำแหน่งในราชการพลเรือนสามัญ 1. ตำแหน่งประเภททั่วไป - ตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานระดับต้น - ตำแหน่งซึ่งมีลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติโดยอาศัยความรู้ ความชำนาญ และประสบการณ์เฉพาะตัว - ตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ 2. ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ และเชี่ยวชาญเฉพาะ 3. ตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูง และระดับกลาง
มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง สายงาน ชื่อและระดับของตำแหน่ง คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ลักษณะงาน วันที่ ก.พ. กำหนด
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง • คุณวุฒิ • ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง • ประสบการณ์ในการปฏิบัติราชการ • คุณสมบัติอื่นๆ ( กำหนดเฉพาะบางตำแหน่ง )
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 3 ได้รับปริญญาตรี หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ทางคอมพิวเตอร์ หรือทางอื่นที่ ก.พ.กำหนดว่าใช้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับ ตำแหน่งนี้ได้
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 4 1.มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ 3 และได้ดำรงตำแหน่งในระดับ 3 หรือที่ ก.พ.เทียบเท่ามาแล้ว ไม่น้อยกว่า 2 ปีโดยจะต้องปฏิบัติราชการเกี่ยวกับงานวิทยาการ- คอมพิวเตอร์มาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี 2.ได้รับปริญญาโท หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ทางคอมพิวเตอร์ หรือ ทางอื่นที่ ก.พ.กำหนดว่าใช้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งนี้ได้
การสรรหาและเลือกสรร • การสรรหา (Recruitment) หมายถึง กระบวนการในการหาบุคคลที่มีความสามารถ ความพร้อม และมีทัศนคติที่ดี ให้เข้ามาสมัครในหน่วยงาน • การเลือกสรร (Selection) หมายถึง การพิจารณาบุคคลที่ทำการสรรหาไว้ เพื่อคัดเลือกให้ได้บุคคลที่เหมาะสมที่สุดมาปฏิบัติงาน
การเลือกสรร • การเลือกสรร (Selection) ในระบบราชการไทย มี 2 วิธี • 1. การสอบแข่งขัน เปิดโอกาสให้ผู้ที่มีคุณสมบัติตามที่กำหนดไว้ มีสิทธิสมัครสอบแข่งขันได้ทุกคน โดยจะบรรจุเรียงตามลำดับที่ที่สอบได้ โดย • ก.พ. จะเป็นผู้จัดสอบภาค ความรู้ความสามารถทั่วไป เป็นการสอบรวม • สำหรับการสอบภาควิชาเฉพาะ ก.พ. ได้มอบอำนาจให้แต่ละส่วนราชการไปดำเนินการเอง
การเลือกสรร • การเลือกสรร (Selection) ในระบบราชการไทย มี 2 วิธี • 2. การคัดเลือก การคัดเลือกบุคคลเข้ารับราชการโดยไม่ผ่านการสอบแข่งขันนั้นอาจแบ่งออกได้เป็น 2 กรณี คือ • ในกรณีที่มีเหตุพิเศษ • ในกรณีที่บรรจุและแต่งตั้งในฐานะผู้ทรงคุณวุฒิ
การบรรจุ คือ การสั่งให้บุคคลเข้ารับราชการ มีฐานะเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ
การแต่งตั้ง คือ การสั่งให้ข้าราชการพลเรือนสามัญดำรงตำแหน่ง โดยให้มีหน้าที่ความรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ และรับเงินเดือนในตำแหน่งนั้น
การแต่งตั้ง 5 กรณี เลื่อนตำแหน่ง แต่งตั้งผู้ได้รับบรรจุ โอน ย้าย แต่งตั้งผู้ขาดคุณสมบัติเฉพาะฯกลับไปดำรงตำแหน่งเดิม หรือ ตำแหน่งอื่นที่ผู้นั้นมีคุณสมบัติเฉพาะฯตรง
การบรรจุ บรรจุผู้ไม่เคยรับราชการ บรรจุข้าราชการประเภทอื่น บรรจุผู้เคยรับราชการมาก่อน
บรรจุผู้ไม่เคยรับราชการบรรจุผู้ไม่เคยรับราชการ • การบรรจุผู้สอบแข่งขันได้ • การบรรจุผู้ได้รับคัดเลือก • ผู้ได้รับทุนรัฐบาล • ผู้สำเร็จการศึกษาในวิชาชีพที่ขาดแคลนที่ ก.พ. กำหนด • ผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่ ก.พ. อนุมัติให้ส่วนราชการ จัดให้มีการศึกษาขึ้นเพื่อเข้ารับราชการในส่วนราชการนั้น • กรณีอื่นที่ ก.พ. กำหนด • การบรรจุผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ชำนาญการ
บรรจุข้าราชการประเภทอื่นบรรจุข้าราชการประเภทอื่น • การรับโอนพนักงานเทศบาล หรือข้าราชการตามกฎหมายอื่น มาบรรจุ
บรรจุผู้เคยรับราชการมาก่อนบรรจุผู้เคยรับราชการมาก่อน • การบรรจุข้าราชการผู้ไปรับราชการทหารกลับเข้ารับราชการ • การบรรจุผู้ออกไปปฏิบัติงานใดๆ ตามมติคณะรัฐมนตรีกลับเข้ารับราชการ • การบรรจุผู้เคยเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญกลับเข้ารับราชการ • การบรรจุผู้เคยเป็นพนักงานเทศบาล หรือข้าราชการตามกฎหมายอื่นกลับเข้ารับราชการ
การบรรจุผู้สอบแข่งขันได้การบรรจุผู้สอบแข่งขันได้ • ถึงลำดับที่ที่เรียกบรรจุ • บัญชีผู้สอบแข่งขันได้ยังไม่ยกเลิก • ไม่ถูกยกเลิกการขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ • มีคุณสมบัติทั่วไปและคุณสมบัติเฉพาะฯ • บรรจุและแต่งตั้งในตำแหน่งที่สอบแข่งขันได้ • ให้รับเงินเดือนตามคุณวุฒิ • ให้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ
การยกเลิกบัญชีผู้สอบแข่งขันได้การยกเลิกบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ • บัญชีผู้สอบแข่งขันได้มีอายุครบ 2 ปี • ขึ้นบัญชีสอบในตำแหน่งนั้นบัญชีใหม่ บัญชีผู้สอบแข่งขันได้ 1. ........................................................................ 2. ........................................................................ 3. ........................................................................ 4. ........................................................................5. ........................................................................ 6. ........................................................................ 7. ........................................................................ 8. ........................................................................ 9. ........................................................................ 10. .....................................................................
ผู้สอบแข่งขันได้ถูกยกเลิกการขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ถูกยกเลิกการขึ้นบัญชี • ไม่มารายงานตัวตามกำหนด • มารายงานตัวแต่ขอสละสิทธิรับการบรรจุ • มารายงานตัวแต่ไม่สามารถเข้าปฏิบัติราชการได้ • ตามกำหนด • ขอโอนแต่ส่วนราชการไม่รับโอน • ได้รับการบรรจุในตำแหน่งอื่นในการสอบครั้งเดียว • กันไปแล้ว
อัตราเงินเดือนตามคุณวุฒิอัตราเงินเดือนตามคุณวุฒิ ปวช. อันดับ ท.1 ขั้น 5,530 บาท ปวท. อันดับ ท.2 ขั้น 6,220 บาท ปวส. อันดับ ท.2 ขั้น 6,820 บาท ป.ตรี 4 ปี อันดับ ท.3 ขั้น 7,630 บาท ป.โท ทั่วไป อันดับ ท.4 ขั้น 9,320 บาท ป.เอก อันดับ ท.5 ขั้น 12,600 บาท
อยู่ในกรณีที่ ก.พ. อนุมัติให้คัดเลือกบรรจุ • มีคุณสมบัติทั่วไปและคุณสมบัติเฉพาะฯ • บรรจุและแต่งตั้งในตำแหน่งที่คัดเลือกได้ • ให้รับเงินเดือนตามคุณวุฒิ • ให้ทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ การบรรจุผู้ได้รับคัดเลือก
ก.พ.รับรอง ความรู้แน่น ความสามารถสูง 1 การบรรจุผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ชำนาญการ 1) ส่วนราชการที่จะขอ • มีความจำเป็นอย่างยิ่ง • มีตำแหน่งอยู่แล้ว (ระดับ 6 ขึ้นไป) 2) บุคคลที่จะบรรจุ • มีความรู้ ความสามารถเหมาะสม • ไม่เคยรับราชการมาก่อน 3) ใหั อ.ก.พ.กระทรวงเห็นชอบ แล้วขออนุมัติ ก.พ.
การบรรจุผู้ออกไปรับราชการทหารกลับเข้ารับราชการการบรรจุผู้ออกไปรับราชการทหารกลับเข้ารับราชการ • ออกจากราชการ 1) สงวนตำแหน่งระดับเดียวกันไว้ 2) ไม่ออกไปเพราะสาเหตุอื่น • กลับเข้ารับราชการ 1) ยื่นคำขอภายใน 180 วัน นับแต่วันพ้นราชการทหาร 2) ไม่ทำความเสียหายหรือประพฤติชั่วอย่างร้ายแรงระหว่าง รับราชการทหาร 3) ไม่ขาดคุณสมบัติทั่วไป ตาม ม.30 4) บรรจุกลับในระดับเดิมที่สงวนไว้และให้ได้รับเงินเดือนตามที่ ก.พ. กำหนด 5) ถ้าออกระหว่างทดลองฯ ให้ทดลองฯต่อ
การบรรจุผู้ไปปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรี กลับเข้ารับราชการ • ออกจากราชการ 1) คณะรัฐมนตรีอนุมัติให้ออกไปปฏิบัติงานใด ๆ 2) ให้นับเวลาระหว่างนั้นสำหรับคำนวณบำเหน็จบำนาญ 3) ให้สงวนตำแหน่งในระดับเดียวกันไว้ • กลับเข้ารับราชการ 1) ขอบรรจุกลับภายในกำหนดเวลาที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติ แต่ไม่เกิน 4 ปี 2) ยื่นคำขอภายใน 30 วันก่อนวันสิ้นสุดเวลา 3) ดำรงตำแหน่งระดับเดิมที่สงวนไว้ 4) รับเงินเดือนตามที่ ก.พ. กำหนด
การบรรจุผู้เคยเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ • ไม่ออกในระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ • มีคุณสมบัติทั่วไปและคุณสมบัติเฉพาะฯ • บรรจุตำแหน่งระดับควบ ต้องไม่มีผู้สอบแข่งขันได้ขึ้นบัญชี • รอการบรรจุ • ตำแหน่งนอกระดับควบ ต้องไม่มีผู้สอบคัดเลือกขึ้นบัญชีอยู่ • ถ้ามีบัญชีสอบค้างอยู่ แต่มีเหตุผลความจำเป็น ให้เสนอ • อ.ก.พ.กระทรวงพิจารณา (เว้นแต่กรณีลาออกไปสมัคร ส.ส. ฯลฯ บรรจุกลับได้) • แต่งตั้งในระดับและให้ได้รับเงินเดือนไม่สูงกว่าเดิม • ไม่ต้องทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ
ฝ่ายบรรจุ แต่งตั้งฯ การบรรจุผู้เคยเป็นข้าราชการตามกฎหมายอื่น กลับเข้ารับราชการ • ขออนุมัติ ก.พ. (เฉพาะทหาร ตำรวจ อัยการ ตุลาการ) นอกจากนั้น ก.พ. มอบให้ส่วนราชการดำเนินการได้เอง • มีคุณสมบัติทั่วไปและคุณสมบัติเฉพาะฯ • ไม่ออกจากราชการระหว่างทดลองฯ • ถ้ามีบัญชีสอบแข่งขัน หรือบัญชีสอบคัดเลือก จะบรรจุกลับ • ไม่ได้ ( เว้นแต่กรณีลาออกไปสมัคร ส.ส. ฯลฯ )
การทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ • ทดลองฯ เป็นเวลา 6 เดือน • ขณะทดลองฯ ย้ายหรือโอนได้ แต่ถ้าย้ายหรือโอน • ในสายงานใหม่ต้องเริ่มต้นทดลองฯใหม่ • ประเมินผลการทดลองฯ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ • ที่ ก.พ. กำหนด ( ว 5/2530 ) • รายงานการทดลองฯ มี 2 กรณี • - ให้อยู่ • - ให้ออก
การทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ • ให้อยู่ รายงานเมื่อทดลองฯ ครบ 6 เดือน • ( ส่ง ก.พ.เฉพาะแบบหมายเลข 2 ) • ให้ออก ถ้าเห็นว่าเป็นผู้ไม่มีความรู้ หรือไม่มีความสามารถ หรือความประพฤติไม่ดี สั่งให้ออกจากราชการได้ • โดยไม่ต้องรอให้ครบ 6 เดือน
การย้าย หมายถึง การสั่งให้ข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งหนึ่ง ไปแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอื่นในระดับที่ไม่สูงกว่าเดิม ในกรมเดียวกัน โดยอาจเป็นการย้ายในสายงานเดิม หรือต่างสายงาน ก็ได้
หลักเกณฑ์การย้าย • มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งที่จะย้าย • มีตำแหน่งระดับเดียวกันว่าง • ย้ายไปเฉพาะบุคคลเท่านั้น เลขที่ประจำตำแหน่งยังอยู่ที่เดิม • สั่งให้ได้รับเงินเดือนเท่าเดิมในตำแหน่งที่ได้รับแต่งตั้ง • กรณีย้ายไปดำรงตำแหน่งต่ำกว่าเดิมต้องเป็นความสมัครใจของเจ้าตัว และให้ได้รับเงินเดือนในขั้นที่เทียบได้ตรงกัน • อยู่ในหลักเกณฑ์อื่นที่ ก.พ. กำหนด
การเลื่อนตำแหน่ง หมายถึง การสั่งข้าราชการให้มีอำนาจหน้าที่ และรับผิดชอบในตำแหน่งระดับสูงกว่าเดิม ซึ่งเป็นตำแหน่งในสายงานเดิม หรือต่างสายงาน ก็ได้
หลักเกณฑ์การเลื่อนตำแหน่งหลักเกณฑ์การเลื่อนตำแหน่ง • มีตำแหน่งระดับสูงที่จะใช้เลื่อนได้ • มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งที่จะเลื่อน • วิธีการเลื่อนถูกต้องตามที่ ก.พ.กำหนด • ขณะเลื่อนได้รับเงินเดือนตามหลักเกณฑ์ • ให้ได้รับเงินเดือนตามกฎ ก.พ.
วิธีการเลื่อนตำแหน่ง • เลื่อนจากผู้สอบแข่งขันได้ • เลื่อนจากผู้สอบคัดเลือกได้ • เลื่อนจากผู้ได้รับการคัดเลือก