990 likes | 2.05k Views
แนวทางการขอรับทุนและทิศทางงานวิจัย. โดย. สุนันทา สมพงษ์ ผู้อำนวยการภารกิจโครงการและประสานงานวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.). บรรยาย 2 2 ส.ค. 2550 ที่ม . เกษตรศาสตร์. ก รอบการวิจัย ปี 2550. ด้านโครงการวิจัยสานเกลียวคู่นวัตกรรมด้านพลาสติกชีวภาพ. 1. 2. 3. 4. 5.
E N D
แนวทางการขอรับทุนและทิศทางงานวิจัยแนวทางการขอรับทุนและทิศทางงานวิจัย โดย สุนันทา สมพงษ์ ผู้อำนวยการภารกิจโครงการและประสานงานวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) บรรยาย 22 ส.ค. 2550 ที่ม.เกษตรศาสตร์
ด้านโครงการวิจัยสานเกลียวคู่นวัตกรรมด้านพลาสติกชีวภาพด้านโครงการวิจัยสานเกลียวคู่นวัตกรรมด้านพลาสติกชีวภาพ 1 2 3 4 5 ด้านการพยากรณ์ป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติเกี่ยวกับน้ำ ด้านมลพิษทางอากาศของประเทศไทยภายใต้ปรากฏการณ์โลกร้อน ด้านการศึกษาวิจัยปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ด้านแผนงานพลังงานทดแทน ข้อกำหนดการวิจัย 20 ด้าน
ด้านเศรษฐกิจพอเพียง 6 7 8 9 ด้านการพัฒนาสังคมไทยสู่สังคมการเรียนรู้และการแก้ปัญหาทางเพศและยาเสพติด ด้านการศึกษาปัญหาด้านสาธารณสุขที่ได้รับการจัดลำดับความสำคัญสูงสุดระดับประเทศ ด้านปัญหาเกี่ยวกับการดูแลและการให้บริการสุขภาพผู้สูงอายุ และบุคคลพิการทั่วไป ด้านการวิจัยและพัฒนาเกษตรอินทรีย์มาตรฐานส่งออก 10 ข้อกำหนดการวิจัย
ด้านปัญหาเกี่ยวกับแรงงานไทยภายในประเทศ แรงงานไทยในต่างแดนและแรงงานต่างด้าวในประเทศ ด้านการวิจัยและพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน (OTOP) ด้านปัญหาเกี่ยวกับเยาวชนกรณีการติดเกมส์และแรงงาน ด้านอิทธิพลของสื่อต่อสังคมไทย ด้านการวิจัยและพัฒนาสัตว์เศรษฐกิจ (สัตว์ปีก) 11 12 13 14 15 ข้อกำหนดการวิจัย
ด้านการออกแบบเพื่อลดผลกระทบต่อสภาวะโลกร้อนและลดความเสี่ยงในการเกิดโรคร้ายด้านการออกแบบเพื่อลดผลกระทบต่อสภาวะโลกร้อนและลดความเสี่ยงในการเกิดโรคร้าย ด้านการวิจัยและพัฒนาสัตว์เศรษฐกิจ (สุกร) ด้านการวิจัยและพัฒนาสัตว์เศรษฐกิจ (โค) ด้านการวิจัยและพัฒนาอาหารไทย อาหารสุขภาพเพื่อการส่งออก ด้านการวิจัยและพัฒนาเซลล์เชื้อเพลิง 16 17 18 19 20 ข้อกำหนดการวิจัย
ตามหัวข้องานวิจัยที่สอดรับกับนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของ วช. และแก้ไขปัญหาของชาติทั้งเร่งด่วนและระยะยาว การส่งเสริมการวิจัย โดยวช. วช. เสนอของบประมาณเพื่อให้ทุน
2 3 1 4 5 กลุ่มเรื่องการวิจัยเร่งด่วน การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง ความมั่นคงของรัฐและการเสริมสร้างธรรมาภิบาล การปฏิรูปการศึกษา การจัดการน้ำ การพัฒนาพลังงานทดแทน
6 7 8 9 10 กลุ่มเรื่องการวิจัยเร่งด่วน การเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออกและลดการนำเข้า การป้องกันโรคและการรักษาสุขภาพ การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาคุณค่าความหลากหลายทางชีวภาพ เทคโนโลยีใหม่และเทคโนโลยีที่สำคัญเพื่ออุตสาหกรรม การบริหารจัดการการท่องเที่ยว
การเขียนข้อเสนอตามแบบฟอร์มการเขียนข้อเสนอตามแบบฟอร์ม แบบฟอร์มตามที่แหล่งทุนกำหนดและตามประเภทของงบประมาณ เช่น • ของบประมาณปกติ ใช้แบบฟอร์ม วช-1ช วช-1ด • ขอจากงบของ วช. ใช้แบบฟอร์ม ภค-1ช ภค-1ด สามารถสืบค้นได้จาก www.nrct.net
ส่วนสำคัญของข้อเสนอ • ชื่อเรื่อง • วัตถุประสงค์ • เป้าหมาย ผลผลิต ตัวชี้วัด ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ • แผนการดำเนินงาน • กระบวนการวิจัย(ชัดเจนมีความเป็นไปได้สูง) • การนำไปใช้ประโยชน์(แผนการถ่ายทอดชัดเจน) • งบประมาณ • คณะนักวิจัยและประสบการณ์ สิ่งสำคัญ • ต้องไม่ขอทุนซ้ำซ้อน • มีจรรยาบรรณ
เขียนโครงการให้ได้งบประมาณเขียนโครงการให้ได้งบประมาณ 1. ต้องอาศัยความรู้และประสบการณ์ หรือความเข้าใจในงานวิจัยที่จะทำอย่างชัดเจน 2.อาศัยความสามารถในการค้น คัดเลือก ความรู้จากแหล่งอื่นที่ใช้เป็นกรอบทางทฤษฎี ประกอบกับความสามารถในการประมวล จัดระเบียบและเรียบเรียงข้อความต่างๆ
เขียนโครงการให้ได้งบประมาณเขียนโครงการให้ได้งบประมาณ 3. การเขียนมีลำดับขั้นตอนที่จำเป็นดังต่อไปนี้ (1) มีการวางโครงร่าง ( outline ) (2) เตรียมเนื้อหาสาระ ( Content ) (3)เขียนร่าง ( draft ) (4) ขัดเกลาสำนวนเป็นภาษาเขียน (5) ตรวจและแก้ไขปรับปรุง 4. ใช้ภาษาอย่างถูกต้อง กระชับ ชัดเจน สมเหตุผล ไม่ควรเขียนวกวน ใช้ภาษาที่ไม่เป็นทางการ
เขียนโครงการให้ได้งบประมาณเขียนโครงการให้ได้งบประมาณ 5. เขียนให้เกิดลักษณะต่อไปนี้ (1) มีเหตุ มีผล (2) ถูกต้อง (3)กระจ่างแจ้ง ชัดเจน (4) สมบูรณ์ ชัดเจน กะทัดรัด (5) สื่อความหมายได้เข้าใจ (6) สัมพันธ์เชื่อมโยง
ข้อเสนอโครงการวิจัยที่ดีข้อเสนอโครงการวิจัยที่ดี • มีโจทย์ที่ชัดเจน และเป็นเอกภาพ • มีคำตอบน่าเชื่อถือและทำได้จริง • มีกระบวนการวิจัยที่ถูกต้อง • มีแผนการดำเนินที่ชัดเจนและมีความเป็นไปได้สูง • เสนอเป้าหมาย ผลผลิต ตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับเรื่อง • คณะนักวิจัยมีประสบการณ์ทำงานที่เกี่ยวข้อง • มีความสมบูรณ์ครบทุกประเด็น • มีความสัมพันธ์เชื่อมโยง • ความถูกต้องตามหลักวิชาการ • ความมีเหตุผล • ความกระชับ
ตัวอย่าง โครงการที่ไม่ได้รับการสนับสนุน • ชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์ และกิจกรรมไม่สอดคล้องกัน • มีการค้นคว้าหรือตรวจเอกสารที่ผู้อื่นทำมาแล้วน้อย • หัวหน้าโครงการไม่มีประสบการณ์พอ แต่เขียนโครงการใหญ่เกินไป มีจำนวนนักวิจัยไม่เหมาะสม • ตั้งงบประมาณมากเกินความจำเป็น • เขียนโครงการตามความสนใจของนักวิจัย โดยไม่คำนึงผู้ใช้ประโยชน์ที่ชัดเจน • แผนการดำเนินการและกิจกรรมการวิจัยไม่ชัดเจน
จุดอ่อนและปัญหาที่พบ ในการพิจารณาและประเมินโครงการ
การพิจารณาและประเมินโครงการการพิจารณาและประเมินโครงการ 1) การพิจารณาลักษณะสำคัญเบื้องต้น 2) การพิจารณารายละเอียดของโครงการ
การพิจารณาลักษณะสำคัญเบื้องต้นการพิจารณาลักษณะสำคัญเบื้องต้น 1) สอดคล้องกับกรอบการวิจัยที่ วช. กำหนด 2) ความสำคัญของเรื่อง 3) ประสบการณ์คณะผู้วิจัย 4) ความถูกต้องของระเบียบวิธีวิจัย 5) ความเป็นไปได้ของโครงการ
การพิจารณารายละเอียดโครงการการพิจารณารายละเอียดโครงการ 1) ปัจจัยการวิจัย 2) กระบวนการวิจัย 3)ผลการวิจัย 4) ผลสำเร็จที่คาดว่าจะได้รับ 5) ผลกระทบของแผนงานวิจัย/โครงการวิจัย
1.ชื่อเรื่อง การประเมินแต่ละองค์ประกอบ - ตรงประเด็นปัญหาการวิจัย - ครอบคลุมประเด็น - ชัดเจน กะทัดรัด บอกทิศทางการวิจัย - สอดคล้องกับประเด็นสำคัญที่ต้องการศึกษา - ชื่อเรื่องเป็นสื่อบอกการศึกษาวิจัย - ต้องไม่ซ้ำซ้อนกับผู้อื่น แม้ประเด็นจะคล้ายหรือแตกต่าง - ภาษาชัดเจน เข้าใจง่าย เป็นศัพท์ที่ยอมรับ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา • สภาพปัญหาของสิ่งที่กำลังจะวิจัย • ผลเสียหรือผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นหากไม่แก้ไข • แผนความคิดเกี่ยวกับวิธีการเพื่อแก้ปัญหานั้น • ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการทำวิจัยเพื่อหาคำตอบหรือแนวทางแก้ไข • เขียนจากขอบเขตที่กว้างหรือใหญ่แล้วค่อยเล็กลงมา
จุดอ่อนที่พบ • ไม่ชัดเจน คลุมเคลือไม่สามารถชี้ให้เห็นความสำคัญของปัญหา • เนื้อหาขาดความสัมพันธ์ต่อเนื่อง • ยาวเกินไป/สั้นเกินไป • ไม่สอดคล้องกับประเด็นสำคัญที่ต้องการศึกษา • ขาดข้อมูลสนับสนุน
ปัญหาของการวิจัย พยายามตอบคำถามต่อไปนี้ให้ได้ • อะไรคืออุปสรรค • กลุ่มเป้าหมายที่ถูกกระทบคือใคร อยู่ที่ไหน • พื้นที่ถูกกระทบอยู่ที่ไหน จำนวนที่ถูกกระทบมากน้อยเท่าใด • ผลวิจัย ผลสรุปของผู้อื่นมีอะไรบ้าง • ความพยายามที่จะแก้ปัญหามีอะไรบ้าง ประสบความสำเร็จมากน้อยเพียงใด • อะไรคือประเด็นที่ยังไม่ได้แก้ไข
3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย - สอดคล้องกับชื่อเรื่อง - มีความชัดเจนว่าจะศึกษาปัญหาอะไร - ครอบคลุมทุกปัญหาการวิจัย - นำไปสู่การออกแบบการวิจัย - เชื่อมโยงกับความสำคัญของปัญหาและขอบเขตในการวิจัย - การเขียนให้ขึ้นต้นด้วยคำว่า “เพื่อ”
4. ขอบเขตการวิจัย • กำหนดขอบเขตการวิจัยเฉพาะที่ศึกษา • ระบุตัวแปร • กำหนดระยะเวลา • ขอบเขตพื้นที่ สถานที่รวบรวมข้อมูล • คุณลักษณะของตัวแปรที่ศึกษา • ข้อจำกัดของการวิจัย
5. สมมติฐานการวิจัย • ต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ • มีกรอบแนวคิดชัดเจน รัดกุม ไม่คลุมเครือ • ต้องอธิบายหรือตอบคำถามได้หมด • ตอบปัญหาเดียว • สอดคล้องกับความจริงที่ยอมรับโดยทั่วไป • สมเหตุผลตามทฤษฎีและความรู้ในศาสตร์วิชานั้น • สามารถตรวจสอบได้ มีข้อมูลหลักฐานที่นำมาพิสูจน์ได้ • ใช้ภาษา ถ้อยคำที่เข้าใจง่าย ชัดเจน • คาดคะเนเพื่อตอบโจทย์ปัญหาการวิจัย
6. ระเบียบวิธีวิจัย เลือกวิธีวิจัยที่เหมาะสม อธิบายขั้นตอนการวิจัยได้ชัดเจน มีขั้นตอนการวิจัยครบสำหรับแต่ละวัตถุประสงค์ ประชากรครอบคลุมทุกกลุ่มที่จะให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การเลือกกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสม (ขนาดเป็นตัวแทน)
6. ระเบียบวิธีวิจัย (ต่อ) • คุณภาพของเครื่องมือ • การรวบรวมข้อมูล (ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม) • ความเหมาะสมของเครื่องมือที่ใช้ • การวิเคราะห์ข้อมูล (เลือกสถิติเหมาะสมสามารถตอบวัตถุประสงค์การวิจัย)
จุดอ่อน ที่พบ • ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง • ไม่ชัดเจนว่าประชากรประกอบด้วยกลุ่มใดบ้าง • ระบุประชากรและกลุ่มตัวอย่างไม่ครบ • ไม่ระบุว่าได้กลุ่มตัวอย่างมาจากไหน • เครื่องมือในการวิจัย • ไม่ครอบคลุมเครื่องมือทุกประเภท • ไม่มีรายละเอียดของเครื่องมือแต่ละชนิด • ไม่ชัดเจนว่าเครื่องมือใดใช้กับกลุ่มตัวอย่างใด
จุดอ่อน ที่พบ • การเก็บรวมรวมข้อมูล • - ไม่แสดงรายละเอียดในแต่ละขั้นตอน • - ไม่ระบุระยะเวลาที่ใช้ (เช่นการทดลอง) • การวิเคราะห์ข้อมูล • - ไม่ระบุรายละเอียด ข้อมูลแต่ละประเภท วิเคราะห์อย่างไร • - ไม่ระบุสถิติที่ใช้
แผนการดำเนินงาน • ควรเสนอภารกิจทั้งหมดที่ต้องปฏิบัติตลอดโครงการ • ระบุระยะเวลาที่จะปฏิบัติในแต่ละภารกิจเหล่านั้น ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงความเป็นไปได้ และความเหมาะสมของจังหวะเวลา โดยกำหนดเป็นผังดำเนินการที่ชัดเจนภายใต้ระยะเวลาที่กำหนด • กำหนดระยะเวลาในแต่ละขั้นตอนเป็นระบบและต่อเนื่อง
ตัวอย่างแผนการดำเนินงานตัวอย่างแผนการดำเนินงาน
ตัวอย่างแผนการดำเนินงานตัวอย่างแผนการดำเนินงาน
แผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีแผนการถ่ายทอดเทคโนโลยี • ตีพิมพ์ในวารสารต่างประเทศจำนวน 2ฉบับ • ตีพิมพ์ในวารสารในประเทศจำนวน 3ฉบับ • บรรยายในการประชุมวิชาการต่างประเทศจำนวน 2ครั้ง • บรรยายในการประชุมวิชาการในประเทศจำนวน 3ครั้ง • จัดสัมมนาภายในประเทศจำนวน 1ครั้ง • สาธิตการใช้งานเครื่องยนต์ต้นแบบจำนวน 3 ครั้ง • นำเสนอภาคเอกชน
งบประมาณค่าใช้จ่ายตลอดโครงการงบประมาณค่าใช้จ่ายตลอดโครงการ 1. งบประมาณเหมาะสม ไม่มากหรือน้อยเกินไป 2. มีการแจกแจงรายละเอียด 3. มีความเป็นไปได้ในการศึกษาวิจัย 4. คำนวณงบประมาณครอบคลุมทุกรายการที่วางแผน 5. ประเมินค่าใช้จ่ายตามความเป็นจริง
งบประมาณค่าใช้จ่ายตลอดโครงการงบประมาณค่าใช้จ่ายตลอดโครงการ คิดคำนวณหรือประมาณการจากภาระงานทั้งหมด โดยจำแนกออกเป็นหมวดค่าใช้จ่ายให้ชัดเจน 1. หมวดค่าจ้างชั่วคราว (สำหรับค่าจ้างคนงาน,ค่าจ้างผู้ช่วยนักวิจัย) 2. หมวดค่าตอบแทน 3. หมวดค่าใช้สอย (ค่าเดินทาง,ไปรษณีย์,พิมพ์.....) 4. หมวดค่าวัสดุ (วัสดุสำนักงาน,วัสดุไฟฟ้า ,เชื้อเพลิง,วัสดุก่อสร้าง...) 5. หมวดครุภัณฑ์
ตัวอย่างงบประมาณของโครงการวิจัยตัวอย่างงบประมาณของโครงการวิจัย
ตัวอย่างงบประมาณของโครงการวิจัยตัวอย่างงบประมาณของโครงการวิจัย
ตัวอย่าง ผลสำเร็จและความคุ้มค่าของการวิจัย • 1.ได้ทราบอัตราการสัมผัสเชื้อH5N1แต่ไม่เป็นโรค ในกลุ่มเสี่ยงที่อยู่ใกล้ชิดกับไก่ไม่ว่าจะเป็นผู้เลี้ยงไก่ คนเชือดไก่ คนจับไก่ ซึ่งทำงานในโรงเลี้ยงโรงเชือดขนาดเล็ก • 2.ทำให้เกิดการตระหนักถึงความปลอดภัยในการทำงาน • 3. ได้ทราบถึงปัจจัยเสี่ยงในการทำงาน ให้ผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง และประชาชนทั่วไปได้รับทราบการสื่อสารความเสี่ยงนี้ อันจะเป็นแนวทางในการจัดการลดความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ เหมาะสมที่จะให้เกิดความปลอดภัย • 4.ได้เข้าใจพยาธิสภาพของโรค และการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกัน • 5.เป็นแนวทางพัฒนาวิธีการรักษาผู้ป่วย หรือพยากรณ์โรคอาจลดอัตราการตาย • 6.เป็นแนวทางในการพัฒนาวัคซีนป้องกันไข้หวัดสัตว์ปีกสำหรับคน เพื่อการควบคุมและป้องกันโรคระบาดในคนอีกทางหนึ่ง เสริมกับการป้องกันการติดเชื้อในขั้นต้น
ตัวอย่าง เป้าหมายผลผลิตและตัวชี้วัด
ตัวอย่าง เป้าหมายผลผลิตและตัวชี้วัด
ตัวอย่างเป้าหมายผลลัพท์และตัวชี้วัดตัวอย่างเป้าหมายผลลัพท์และตัวชี้วัด
ตัวอย่างเป้าหมายผลผลิตและตัวชี้วัดตัวอย่างเป้าหมายผลผลิตและตัวชี้วัด
ตัวอย่าง เป้าหมายผลผลิตและตัวชี้วัด