340 likes | 561 Views
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “ กองทุน FTA: ทางรอด ทางเลือก สินค้าปาล์มน้ำมัน ” แนวทางการช่วยเหลือของกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรฯ โดย นาง ราตรี พูนพิริยะทรัพย์ ผู้อำนวยการส่วนบริหารกองทุนภาคการเกษตร สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร 28 เมษายน 2554
E N D
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “กองทุน FTA: ทางรอด ทางเลือก สินค้าปาล์มน้ำมัน” แนวทางการช่วยเหลือของกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรฯ โดย นางราตรี พูนพิริยะทรัพย์ ผู้อำนวยการส่วนบริหารกองทุนภาคการเกษตร สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร 28 เมษายน 2554 ณ โรงแรมมาริไทร์ ปาร์ค แอนด์ สปา รีสอร์ท จังหวัดกระบี่
แนวทางการช่วยเหลือของกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศแนวทางการช่วยเหลือของกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ AFTA เป็นโอกาสหรืออุปสรรคกับสินค้าเกษตรไทย • ภาคเกษตรได้หรือเสีย
การค้าสินค้าเกษตรระหว่างไทยกับสมาชิกอาเซียนอื่น 9 ประเทศ หมายเหตุ:สินค้าเกษตรตอนที่ 1-24 (สินค้าส่งออกสำคัญของไทย คือ ข้าว น้ำตาล) ที่มา:กรมศุลกากร
ส่งออก: สินค้าสำคัญที่ไทยส่งออกไปอาเซียน 9 ประเทศ ที่มา:กรมศุลกากร
นำเข้า: สินค้าสำคัญที่ไทยนำเข้าไปอาเซียน 9 ประเทศ ที่มา:กรมศุลกากร
พันธกรณีไทย • ต้องลดภาษีทุกรายการสินค้าเหลือ 0% ในปี 2553 ได้แก่ ชา กาแฟสำเร็จรูป พริกไทย ลำ ไยแห้ง กระเทียม หอมหัวใหญ่ เมล็ดพันธุ์หอมหัวใหญ่ ปาล์มน้ำมัน น้ำมันถั่วเหลือง เมล็ดถั่วเหลือง มะพร้าวผล น้ำมันมะพร้าว น้ำนมดิบ/นมพร้อมดื่ม นมผงขาดมันเนย ไหมดิบ ข้าว กากถั่วเหลือง น้ำตาล และใบยาสูบ ยกเว้นเมล็ดกาแฟ มันฝรั่งไม้ตัดดอก เนื้อมะพร้าวแห้ง เหลือ 5% • ต้องยกเลิกโควตาทุกสินค้าให้หมดไปในปี 2553 • การดำเนินการสำหรับสินค้าเกษตรโควตา 23 รายการ • ก.คลัง ได้ออกประกาศลดภาษี เหลือ 0-5% ในปี 2553 แล้ว • พณ. เป็นผู้รับผิดชอบออกประกาศการยกเลิกมาตรการโควตา ซึ่งขณะนี้ยกเลิก ครบ 23 สินค้า แล้ว
ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการเปิดเสรีสินค้าเกษตร(ภาพรวม)ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการเปิดเสรีสินค้าเกษตร(ภาพรวม) ผลดี - ไทยส่งออกสินค้าเกษตรได้มากขึ้น เนื่องจากภาษีที่ลดลง และอาเซียนเป็นตลาดใหญ่มีประชากร 580 ล้านคนซึ่งสำคัญสำหรับไทย (สินค้าส่งออกสำคัญ เช่น ข้าว น้ำตาล นมและผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง ไก่แปรรูป อาหารแปรรูป สิ่งปรุงรสอาหาร เป็นต้น) - สินค้าวัตถุดิบนำเข้าราคาถูก ทำให้ลดต้นทุนการผลิตเพื่อส่งออก (เช่น ปลาและสัตว์น้ำ) - เกษตรกร/ผู้ประกอบการเกิดการปรับตัวทางการผลิต ทำให้สามารถแข่งขันได้
ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการเปิดเสรีสินค้าเกษตร(ภาพรวม)(ต่อ)ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการเปิดเสรีสินค้าเกษตร(ภาพรวม)(ต่อ) ผลเสีย - เกษตรกรบางส่วนอาจได้รับผลกระทบด้านราคาสินค้าตกต่ำเมื่อมีการนำเข้าสินค้าราคาถูกจากอาเซียน 9 ประเทศ - อุตสาหกรรมเกษตรที่มีประสิทธิภาพการผลิตต่ำอาจแข่งขันกับต่างประเทศไม่ได้
ผลจากอาเซียนลดภาษีเป็น 0% ต่อ GDP ไทย ปี 2558 ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย(14 ก.ค. 52) ทำการศึกษาสินค้า 12 กลุ่ม (เกษตร อุสาหกรรม) พบว่า • ผลจากอาเซียนลดภาษี 0%ทำให้ GDP ไทยปี 2558 เพิ่มขึ้น 1.75% คิดเป็นมูลค่า 203,951 ล้านบาท หรือ 0.25% ต่อปี (จากปี 2551) • ไทยจะเกินดุล สาขาเกษตรแปรรูป มากขึ้น 12.5% และจะเกินดุน สาขาเกษตรและปศุสัตว์ มากขึ้น 16.5% • ไทยมีทิศทางส่งออกสินค้าประมงเพิ่มขึ้น
แนวทางรองรับการเปิดเสรีสินค้าเกษตร 23 รายการ • ขั้นที่ 1 บริการการนำเข้า ณ ด่านศุลกากร • ขั้นที่ 2 เยียวยาเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบ (เพื่อปรับโครงสร้างการผลิตเพื่อให้สามารถแข่งขันได้โดยใช้เงินสนับสนุนจากกองทุน FTA กษ.)
ตัวอย่างแนวทางรองรับการเปิดตลาดเสรีสินค้าเกษตรที่อาจจะได้รับผลกระทบ (ด้านการบริหารการนำเข้า)
กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ FTA 13
กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตกองทุนปรับโครงสร้างการผลิต ภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ การแข่งขันของประเทศ ตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อ 20 กรกฎาคม 2547 สร้างขีดความ สามารถในการ แข่งขันให้กับ สินค้าเกษตร • - เพื่อปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร • ปฏิรูปผลิตผลทางการเกษตร • เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต • และพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร • - เพื่อแปรรูปสร้างมูลค่าเพิ่ม • สินค้าเกษตร • เพื่อช่วยเหลือให้เกษตรกร • ปรับเปลี่ยนจากการผลิตสินค้า • ที่ไม่มีศักยภาพสู่สินค้าที่มีศักยภาพ • - สนับสนุนปัจจัยการผลิต • และเทคโนโลยี • สนับสนุนงานวิจัยและพัฒนา • ให้ความรู้ ฝึกอบรม • และดูงาน • ให้การสนับสนุนด้าน • โครงสร้างพื้นฐานการเกษตร • - ปรับเปลี่ยนอาชีพ วัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ การสนับสนุน 14
องค์กรที่รับผิดชอบ คณะกรรมการบริหารกองทุนปรับ - พิจารณาอนุมัติโครงการที่เกษตรกร โครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อ หน่วยงานของรัฐหรือภาคเอกชนเสนอขอรับ เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน การสนับสนุน ของประเทศ - กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีใช้เงินกองทุน ติดตาม ผลการดำเนินงานของโครงการที่ได้รับอนุมัติ - ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย คณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครง - กำหนดมาตรการหรือกรอบโครงการ พิจารณา การเสนอขอรับเงินสนับสนุนกองทุน กลั่นกรองความเหมาะสมของโครงการ ปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร - ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการบริหาร กองทุนฯมอบหมาย คณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์ - กำหนดแนวทางการประชาสัมพันธ์กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อ โครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน - ให้ความเห็นชอบการจัดทำแผนประชาสัมพันธ์ของประเทศ โครงการต่างๆ - เสนอแนะการเลือกใช้สื่อต่างๆอย่างครบวงจรเพื่อกระจายข่าวสาร อำนาจหน้าที่ อำนาจหน้าที่ อำนาจหน้าที่ 15
ขั้นตอนการกำกับดูแลการใช้เงินกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรขั้นตอนการกำกับดูแลการใช้เงินกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร 1 2 3 4 เสนอผ่าน เสนอผ่าน เกษตรกร หน่วยงานของ รัฐ ภาคเอกชน จัดทำโครงการตามหัวข้อเค้าโครงข้อเสนอโครงการ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร รวบรวมตรวจสอบวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ แก้ไขปรับปรุง หน่วยงานที่รับผิดชอบตามสายงานเป็นหน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงการ 5 7 6 ไม่ผ่าน แก้ไข ไม่ผ่าน แก้ไข ไม่เห็นชอบ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รวมทั้งผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง พิจารณาความเป็นไปได้ของโครงการ คณะอนุกรรมการกลั่นกรองฯ พิจารณาความเป็นไปได้ของโครงการ เสนอคณะกรรมการบริหารกองทุนปรับโครงสร้างฯ เพื่ออนุมัติโครงการ ผ่าน เห็นชอบ เห็นชอบ 8 9 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร จัดสรรเงินเป็นรายปี ตามแผนปฏิบัติงาน/ แผนการใช้เงิน สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ติดตามการดำเนินงาน การใช้จ่ายเงิน และรายงานคณะกรรมการบริหารกองทุน อนุมัติ
เป็นโครงการที่เสนอ โดยเกษตรกร สถาบันเกษตรกร หรือ • องค์กรเกษตรกรและภาคเอกชน ซึ่งต้องได้รับผลกระทบ • โดยตรงหรือโดย อ้อมจากการเปิดเสรีทางการค้า • หากเป็นเกษตรกรต้องเสนอในนามของสถาบันเกษตรกรหรือ • องค์กรเกษตรกรที่ได้รับการยอมรับจากส่วนราชการ สถาบัน เกษตรกระและภาคเอกชนต้องเสนอโครงการผ่านส่วนราชการหรือ หน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบตามสายงาน • กรณีโครงการ งาน หรือกิจกรรมที่เสนอโดยหน่วยงานของรัฐ • ต้องเป็นโครงการ งานหรือกิจกรรมที่ดำเนินการปรับโครงสร้าง • การผลิตเพื่อลดผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้าและเป็น • โครงการที่เกิดจากความต้องการหรือการมีส่วนร่วมของเกษตรกร • เป็นโครงการที่มีศักยภาพทั้งในด้านการผลิตและการตลาด • หากเป็นโครงการวิจัยต้องเป็นการวิจัยประยุกต์หรือวิจัยด้าน • การตลาด ที่ให้ผลการวิจัยไม่เกิน 1 ปี • กรณีเป็นโครงการ หรือกิจกรรม ที่จะไปทดแทนกิจกรรมเดิม • จะต้องให้ผลตอบแทนไม่น้อยกว่ากิจกรรมเดิม • เป็นโครงการที่มีแนวทางปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ที่จะ • ช่วยลดต้นทุนการผลิตให้สามารถแข่งขันได้ หลักเกณฑ์การพิจารณาโครงการ 17
กรอบและเงื่อนไขการสนับสนุนเงินกรอบและเงื่อนไขการสนับสนุนเงิน เงินจ่ายขาด ให้เฉพาะกรณีหรือค่าใช้จ่าย ดังต่อไปนี้ ค่าปัจจัยการผลิตในกรณีทดลอง/สาธิต/นำร่อง ค่าใช้จ่ายต่างๆ สำหรับงานวิจัยต้องเป็นการวิจัยประยุกต์ (Applied Research) หรือการวิจัยด้านการตลาด โดยมีผลวิจัยในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี และต้องไม่เป็นโครงการ วิจัยขั้นพื้นฐาน (Basic Research) ค่าใช้จ่ายในการถ่ายทอดเทคโนโลยี อาทิ การฝึกอบรม การสัมมนา การศึกษา ดูงาน ค่าใช้จ่ายดำเนินงานหรือค่าบริหารโครงการของหน่ายงานราชการตามหลักเกณฑ์ ที่คณะกรรมการบริหารกองทุนกำหนด หรือตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน ร้อยละ 3 ของงบประมาณ โครงการ ค่าใช้จ่ายต่างๆ นอกเหนือจากที่ระบุข้างต้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการ บริหารกองทุน 18
กรอบและเงื่อนไขการสนับสนุนเงิน (ต่อ) เงินหมุนเวียนให้เฉพาะกรณีหรือค่าใช้จ่าย ดังต่อไปนี้ ●การช่วยเหลือสำหรับโครงการ ซึ่งได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า อันเนื่องมาจากนโยบายของรัฐ ●การช่วยเหลือสำหรับโครงการที่ริเริ่มใหม่ รวมทั้งกรณีจูงใจให้เกิดการผลิต หรือเปลี่ยนแปลงการผลิต ●ค่าใช้จ่ายที่สนับสนุนได้แก่ -ค่าลงทุนต่างๆ อาทิ ค่าก่อสร้างโรงเรือน/โรงงาน ค่าเครื่องมือ อุปกรณ์ -ค่าใช้จ่ายหมุนเวียนในการผลิต ●กรณีกู้ยืมจากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร กองทุนจะชดเชย ดอกเบี้ยให้ทั้งหมด ●วงเงินให้ยืมและกำหนดการชำระคืนให้เป็นไปตามลักษณะการดำเนินงาน/ ความจำเป็นของแต่ละโครงการ เงินยืมคิดดอกเบี้ย ให้เฉพาะโครงการหรือกิจกรรมที่ได้รับผลตอบแทนคุ้มค่าการลงทุน โดยวงเงินให้ยืม กำหนดการชำระคืน และอัตราดอกเบี้ยให้เป็นไปตามมติคณะกรรมการ บริหารกองทุนฯ 19
หัวข้อและรายละเอียดโครงการขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนฯหัวข้อและรายละเอียดโครงการขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนฯ ชื่อโครงการชื่อเรื่องของโครงการที่เสนอขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนฯ เจ้าของโครงการหน่วยงานของรัฐ (กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่มีฐานะ เป็นกรมและรัฐวิสาหกิจ) ภาคเอกชน (สถาบัน องค์กรนิติบุคคลที่ ดำเนินการด้านเกษตร) หลักการและเหตุผล แสดงถึงเหตุผลและความจำเป็นที่ต้องจัดทำโครงการเพื่อลด ผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า (FTAAFTA WTO ฯลฯ) ซึ่งต้อง ชี้แจงให้ชัดเจนว่าเมื่อเปิดเสรีทางการค้าแล้วมีผลทำให้มีการนำเข้า สินค้านั้น จากประเทศที่ทำข้อตกลงทางการค้านับตั้งแต่วันลงนาม เพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงไร หากไม่ดำเนินการช่วยเหลือจะมีผลกระทบ ต่อเกษตรกรอย่างไร วัตถุประสงค์ แสดงถึงจุดมุ่งหมายของการดำเนินโครงการว่าทำเพื่ออะไร สามารถแก้ไขปัญหาอะไร วิธีดำเนินการ แสดงถึงรายละเอียดของขั้นตอนการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม ของโครงการ (กรณีระยะเวลาดำเนินโครงการเกินกว่า 1 ปี ให้แยก กิจกรรมเป็นรายปี) 20
หัวข้อและรายละเอียดโครงการขอรับการสนับสนุนมาจากกองทุนฯ (ต่อ) เป้าหมาย/ขอบเขต ระบุถึงจำนวน/ปริมาณ/กลุ่มพื้นที่ที่ต้องการดำเนินการ การดำเนินงาน ในโครงการ ระยะเวลาโครงการ แสดงถึงระยะเวลาที่กองทุนฯ สนับสนุนงบประมาณ ระยะเวลาดำเนินการ แสดงถึงจำนวนระยะเวลาในการดำเนินการ เริ่มต้นตั้งแต่ปีไหน สิ้นสุดปีไหน (รวมระยะเวลาชำระคืนเงินหมุนเวียน หากมีการ ขอสนับสนุนเป็นเงินหมุนเวียนด้วย) งบประมาณ แสดงถึงรายละเอียดของงบประมาณแต่ละหมวดในแต่ละ กิจกรรมตามวิธีการดำเนินงาน (กรณีระยะเวลาดำเนิน โครงการเกินกว่า 1 ปี ให้แยกงบประมาณเป็นรายปี) และ แจกแจงงบประมาณเป็นงบเงินจ่ายขาดและงบเงินหมุนเวียน/ เงินยืมและต้องระบุเงื่อนไขและแผนการคืนเงินให้ชัดเจน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ แสดงถึงผลของการดำเนินโครงการเมื่อเสร็จสิ้นแล้ว ช่วย ลดผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้าอย่างไรบ้าง ใคร เป็นผู้ได้รับและลดผลกระทบได้ในปริมาณมากน้อยเพียงใด สมควรแสดงเป็นตัวเลขเชิงปริมาณ 21
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2553) ดำเนินการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ผลิตสินค้าที่ได้รับผลกระทบจาการเปิดเสรีการค้า จำนวน 8 สินค้า 11 โครงการ งบประมาณ รวม 483.03 ล้านบาท (จ่ายขาด 332.34 ล้านบาท หมุนเวียน 150.69 ล้านบาท ) ได้แก่ โคเนื้อ โคนม สุกร ชา ปาล์มน้ำมัน กาแฟ และข้าว รายละเอียด ดังนี้ 22
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2553) 23
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2553) 24
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2553) 25
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2553) 26
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2553) 27
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2553) 28
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2553) 29
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2549-2553) 30
สถานะการเงินกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรสถานะการเงินกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร • รายรับ 640 ล้านบาท ปี 2549 จำนวน 200 ล้านบาท ปี 2550 จำนวน 100 ล้านบาท ปี 2551 จำนวน 100 ล้านบาท ปี 2552 จำนวน 140 ล้านบาท ปี 2554 จำนวน 100 • รายจ่าย 259.16 ล้านบาท ปี 25490.95 ล้านบาท กระเทียม 0.45 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายบริหารกองทุนฯ 0.49 ล้านบาท ปี 255052.05 ล้านบาท (โคเนื้อ,ชา,ปาล์มน้ำมัน) ปี 2551 โคนม 2 โครงการ 16.05 ล้านบาท ปี 255277.27 ล้านบาท (โคเนื้อ,ปาล์มน้ำมัน,สุกร,กาแฟ) ปี 2553108.10 ล้านบาท ● ภาระผูกพัน 380.83 ล้านบาท ● คงเหลือ 230.19 ล้านบาท ● รับชำระคืนจากโครงการตามแผนการชำระคืน 21.58 ล้านบาท ●กองทุนฯ มีเงินทั้งสิ้น 172.23 ล้านบาท 31
แผนปฏิบัติงานปีงบประมาณ 2554 1. ผลักดันช่วยเหลือสถาบันเกษตรกรผู้ผลิตสินค้าที่ได้รับผลกระทบจาก FTA ต่อเนื่องจากปี 2553 1.1 ปาล์มน้ำมัน 1.2 ข้าว 2. จัดทำแผนปรับปรุงการให้บริการของกองทุนฯ โดย 2.1 ลดขั้นตอนการเสนอขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนฯ 2.1.1 ทบทวนกระบวนการทำงานที่ก่อให้เกิดความล่าช้า 2.1.2 จัดหาแหล่งเงินทุนจัดจ้าง out source ช่วยเขียนโครงการให้สถาบันเกษตรกร 2.2 ประชาสัมพันธ์เชิงรุกต่อเนื่องจากปี 2553 2.2.1 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ/สัมมนาทั้งส่วนกลาง/ส่วนภูมิภาค 2.2.2 ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์/วิทยุ/โทรทัศน์ 2.2.3 ผ่าน Web Site 2.3 พัฒนาทักษะความรู้ความสามารถของเจ้าหน้าที่กองทุนฯ 32
3. สนับสนุนโครงการที่ได้เสนอขอรับการช่วยเหลือจากกองทุนฯ อีก จำนวน 8 โครงการงบประมาณ 624.15 ล้านบาท ดังนี้ 33
สนใจติดต่อขอรับการสนับสนุนสนใจติดต่อขอรับการสนับสนุน กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โทร. 0-2561-4727 โทรสาร 0-2561-4726 www.oae.go.th 34