530 likes | 641 Views
จำนวนเตียงแยกตามสาขา. 2.3. จำนวนเตียง 505 เตียง. จำนวนเตียงแยกตามกลุ่มงาน. อัตราการครองเตียง. จำนวนเตียง. กลุ่มงาน. 45 46 47 48. สูตินรีเวชกรรม 72 119.43 113.00 85.23 84.74.
E N D
จำนวนเตียง 505 เตียง จำนวนเตียงแยกตามกลุ่มงาน อัตราการครองเตียง จำนวนเตียง กลุ่มงาน 45 46 47 48 สูตินรีเวชกรรม 72 119.43 113.00 85.2384.74 ศัลยกรรม 118 130.70 107.58 108.68 109.53 อายุรกรรม 109 110.12 102.05 110.93 128.91 กุมารเวชกรรม 104 97.90 82.46 76.04 95.98 ศัลยกรรมกระดูกและข้อ 69 100.74 83.29 84.01 71.14 ตา หู คอ จมูก 33 56.05 51.99 46.65 42.42 รวม 505 106.84 101.58 95.74 99.95
ปี 45 ปี 46 ปี 47 ปี 48 ผู้ป่วยนอก เฉลี่ยวันละ 836 823 815 850 ผู้ป่วยฉุกเฉิน เฉลี่ยวันละ 31.45 35.74 41.39 45.82 ผู้ป่วยรับรักษาต่อ เฉลี่ยวันละ 19.26 49.93 65.86 73 ผู้ป่วยส่งรักษาต่อ เฉลี่ยวันละ 7.75 8.16 10.05 11.62
ปี 45 ปี 46 ปี 47 ปี 48 -อัตราผู้ป่วยในต่อผู้ป่วยนอก 1 : 6 1 : 6 1 : 6 1 : 6 -อัตราตายผู้ป่วยนอก 0.02 0.02 0.02 0.02 -อัตราตายผู้ป่วยใน 2.24 2.15 2.2 2.35
5 อันดับโรค ผู้ป่วยใน ปี 2548
5 อันดับ สาเหตุการตาย ปี 2548
การบริหารทรัพยากรบุคคลการบริหารทรัพยากรบุคคล * ข้าราชการทั้งหมด 530 คน * ลูกจ้างประจำ 145 คน * ลูกจ้างชั่วคราว 270 คน รวม 945 คน
อัตรากำลัง -แพทย์ 35 คน - เภสัชกร 13 คน - ทันตแพทย์ 8 คน - พยาบาล 396 คน
ความต้องการอัตรากำลังความต้องการอัตรากำลัง
การบริหารการเงินการคลังการบริหารการเงินการคลัง
สถานการณ์การเงินโรงพยาบาลกาฬสินธุ์สถานการณ์การเงินโรงพยาบาลกาฬสินธุ์
แผนการลงทุน ลงทุนงบ UC ปี 2548 - อาคารผู้ป่วยใน 120 เตียง (แบบเลขที่ 7228/1) ราคา 30,000,000 บาท ราคากลาง 28,611,800 บาท ราคาที่ประมูลได้ 31,472,980 บาท ลงทุนงบประมาณ ปี 2549 - อาคารผู้ป่วยนอก 4 ชั้น (แบบเลขที่ 7228/1) ราคา 50,000,000 บาท ราคากลาง 57,542,124 บาท
งบ Mega Project ปี 2549 - อาคารพักพยาบาล 32 ยูนิต แบบเลขที่ 8870 งบที่ได้ 27,850,000 บาท ราคากลาง 27,777,410 บาท ราคาที่ประมูลได้ 24,177,410 บาท - อาคารสนับสนุน 5 ชั้น แบบเลขที่ 9034 ดัดแปลง ภายใน ประกอบด้วย พัสดุ จ่ายกลาง ซ่อมบำรุง ผูกพัน 2 ปี 49-50 งบที่ได้ 100,000,000 บาท ราคากลาง 124,769,200 บาท ราคาที่ประมูลได้ 123,769,200 บาท
สถานการณ์และแนวโน้มผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลกาฬสินธุ์
จำนวนผู้ป่วยเบาหวาน 2545-2548 1,889 2,781 2,974 4,141 12,972 19,497 19,186 24,356
จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำแนกรายอำเภอ ปี 2545-2548
จำนวนผู้ป่วยไทรอยด์ 2545-2548 548 441 681 778 2,211 1,620 2,352 2,961
จำนวนผู้ป่วยไขมันในเลือดสูงจำนวนผู้ป่วยไขมันในเลือดสูง 47 49 34 68 165 209 276 517
จำนวนผู้ป่วยถุงลมโป่งพองจำนวนผู้ป่วยถุงลมโป่งพอง 122 145 190 144 558 1,060 925 850
จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 80 78 190 235 536 698 1,276 1,499
รายงาน Refer ย้อนหลัง ปี 2545-2548
ปัญหาอุปสรรค 1. ด้านโครงสร้างสิ่งแวดล้อม - สถานที่คับแคบ OPD ห้องตรวจโรคแยกอยู่หลายอาคาร -บริเวณผู้ป่วยนั่งรอตรวจไม่เพียงพอ -ที่พักผู้ป่วยและญาติไม่เพียงพอ -สถานที่จอดรถไม่เพียงพอ 2. ระบบการจัดการ -ขาดการวิเคราะห์และแก้ปัญหาเชิงระบบอย่างจริงจัง ส่วนใหญ่เป็นการ แก้ปัญหาระยะสั้น -ระบบการส่งต่อยังขาดประสิทธิภาพ
3. เครื่องมืออุปกรณ์ที่สำคัญ -เครื่องช่วยหายใจที่ ER ไม่เพียงพอ -อุปกรณ์ Computer ไม่เพียงพอ ประสิทธิภาพ ต่ำ -เปลนอน/รถเข็น ไม่เพียงพอ 4. บุคลากร -เจ้าหน้าที่หน่วยบริการด่านหน้าไม่เพียงพอ ห้องบัตร ศูนย์เปล OPD 5. ผู้ใช้บริการ - ผู้ป่วยยังขาดวินัยในการมาใช้บริการ ความเร่งด่วน ใบส่งตัว
โครงการที่ได้ดำเนินการไปแล้วและกำลังดำเนินการโครงการที่ได้ดำเนินการไปแล้วและกำลังดำเนินการ 1. โครงการพัฒนาพฤติกรรมบริการด่านหน้า 2. โครงการตรวจสุขภาพเชิงรุก (OPD) 3. โครงการลดระยะเวลาบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก (Six Sigma) 4. โครงการลดระยะเวลารอรับบริการ (ห้องบัตร) 5. โครงการแผลดีด้วยมือครู (ER) 6. โครงการลดระยะเวลารอรับยา (กลุ่มงานเภสัชกรรม)
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดอัตราเพิ่มของผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลกาฬสินธุ์ 2. เพื่อเพิ่มความคล่องตัวในการบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก 3. เพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพการบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก
กลวิธีในการดำเนินงาน 1. ประชุมชี้แจงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อประสานความร่วมมือ 2. วิเคราะห์ปัญหา และแนวโน้มของปัญหาในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งด้านโครงสร้างสิ่งแวดล้อม ด้านบุคลากร ด้านอุปกรณ์ เครื่องมือ และระบบบริหารจัดการ 3.กำหนดแผนการปรับปรุงและแก้ไขปัญหา 4.ดำเนินการตามแผน กำกับและติดตามประเมินผล
1. แผนปรับปรุงแก้ไขปัญหา 1.1 การจัดการระบบภายใน 1.1.1 กลุ่มงาน OPD -โครงการปรับปรุงพื้นที่เพิ่มห้องตรวจโรคเพื่อลดความแออัด -โครงการลดระยะเวลาบริการ ให้ไม่เกิน 10 นาทีในแต่ละขั้นตอน -แผนบริหารอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ให้เหมาะสมกับภาระงาน -แผนพัฒนาความเข้าใจและความพึงพอใจของผู้รับบริการ
1.1.2 งานห้องบัตร - แผนพัฒนาระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น - แผนบริหารอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ให้เหมาะสมกับภาระงาน โดยเฉพาะ ภาคเช้า - แผนลดระยะเวลารอรับบัตรให้ไม่เกิน 10 นาทีทั้งบัตรเก่าและบัตรใหม่ - แผนปรับโครงสร้างระบบการบริการให้เหมาะสมกับความเร่งด่วน เช่น กำหนดวันและเวลางานบริการประกันภัยให้ชัดเจน
1.1.3 กลุ่มงานเภสัชกรรม -แผนบริหารอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ให้เหมาะสำกับภาระงาน โดยเฉพาะในวันพฤหัสบดีและวันศุกร์ ซึ่งมีผู้ป่วยมาก -โครงการลดความผิดพลาดจากการจ่ายยาโดยระบบ Double check -แผนปรับลดระยะเวลารอรับยาให้ไม่เกิน 20 นาที โดย six sigma -โครงการคลินิกให้คำปรึกษาด้านยา ในผู้ป่วย DM , Asthma , Warfarin
1.1.4 พยาธิวิทยา -แผนปรับปรุงประสิทธิภาพของเครื่องมือตรวจโดยเพิ่มเครื่อง Automate 2 เครื่อง -แผนปรับลดระยะเวลาบริการให้ไม่เกิน 45 นาที -แผนพัฒนาระบบสารสนเทศด้านการตรวจวิเคราะห์ โดยนำระบบ LIS มาใช้ในการจัดเก็บข้อมูลและการรายงาน
1.1.5 รังสีวิทยา - แผนปรับลดระยะเวลาบริการ ไม่เกิน 15 นาที - แผนพัฒนาคุณภาพของฟิลม์ โดย SIXSIGMA - แผนพัฒนาระบบความปลอดภัย ของผู้รับบริการที่ได้รับการฉีดสารทึบ แสง
1.1.6 อุบัติเหตุฉุกเฉิน - แผนปรับลดระยะเวลาพบแพทย์ ไม่เกิน 5 นาที - แผนจัดหาอุปกรณ์ช่วยชีวิตให้เพียงพอ - แผนส่งต่อผู้ป่วยทำความสะอาดแผลไม่รุนแรงที่ PCU และโรงเรียน - แผนพัฒนาระบบบริการ ณ จุดเกิดเหตุ (EMS)
1.1.7 หน่วยบริการปฐมภูมิ - แผนให้บริการแพทย์แผนไทย การนวด การใช้สมุนไพร - แผนให้บริการผู้ป่วยเรื้อรังในเขตเทศบาล 2. แผนพัฒนาศักยภาพของสถานบริการในชุมชน จัดตั้งศูนย์การแพทย์ 1. PCU ดงสวาง 2. PCU นาจารย์ จัดแพทย์หมุนเวียนออกให้บริการ ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
3. แผนการพัฒนาระบบส่งต่อ 3.1 ประสานงานโรงพยาบาลชุมชนเพื่อกำหนดแนวทางการส่งต่อผู้ป่วย ให้เหมาะสมและถูกต้อง 3.2 กำหนดแนวทางร่วมกันระหว่างโรงพยาบาลจังหวัด โรงพยาลชุมชน สถานีอนามัย ในการร่วมกันดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โดยเฉพาะผู้ป่วย เบาหวาน โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง ไทรอยด์
3. 3 พัฒนาศักยภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ ให้สามารถรองรับผู้ป่วยที่ส่ง ต่อได้ 3.3.1 พัฒนาศักยภาพบุคลากรใน PCU ที่มีพยาบาลวิชาชีพให้สามารถ ดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูงได้ 3.3.2 จัดหาเครื่องมืออุปกรณ์พื้นฐานตามมาตรฐาน PCU