1 / 205

ท่านผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุขและคณะ

สำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดกำแพงเพชร. ยินดีต้อนรับ. ท่านผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุขและคณะ. พ.ญ. ประนอม คำเที่ยง. น.พ. สุขุม กาญจนพิ มาย. ยินดีต้อนรับสู่กำแพงเพชรเมืองมรดกโลก. คำขวัญประจำจังหวัด. กรุพระเครื่อง เมืองคนแกร่ง ศิลาแลงใหญ่ กล้วยไข่หวาน

Download Presentation

ท่านผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุขและคณะ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกำแพงเพชรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกำแพงเพชร ยินดีต้อนรับ ท่านผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุขและคณะ พ.ญ.ประนอม คำเที่ยง น.พ.สุขุม กาญจนพิมาย

  2. ยินดีต้อนรับสู่กำแพงเพชรเมืองมรดกโลกยินดีต้อนรับสู่กำแพงเพชรเมืองมรดกโลก คำขวัญประจำจังหวัด กรุพระเครื่อง เมืองคนแกร่ง ศิลาแลงใหญ่ กล้วยไข่หวาน น้ำมันลานกระบือ เลื่องลือมรดกโลก

  3. วิสัยทัศน์จังหวัดกำแพงเพชรวิสัยทัศน์จังหวัดกำแพงเพชร “ผู้นำการผลิตและแปรรูปเกษตรปลอดภัย และการท่องเที่ยวถิ่นมรดกโลก” Positionการพัฒนา : เมืองเกษตรปลอดภัย อุตสาหกรรมแปรรูป ท่องเที่ยวถิ่นมรดกโลกและธรรมชาติ

  4. การแบ่งเขตปกครอง • 11 อำเภอ • 78 ตำบล • 956 หมู่บ้าน/ 27 ชุมชนเมือง • 24 เทศบาล(3ทม./21 ทต.) • 65 อบต. / 1 อบจ. GPP อันดับ 2 ของเหนือ(ปี 53) ภาคเกษตร 16% อุตสาหกรรม 30% เหมืองแร่ 20% การท่องเที่ยว 11.7% พื้นที่ 8,600 ตร.กม.5.3 ล้านไร่(1.7% ของประเทศ) เกษตร 60 % ป่าไม้ 22 % ที่อยู่อาศัย 18 % ประชากร 642,498 คน( 1% ของ POP ประเทศ )บ้าน 247,772 หลังคาเรือน เฉลี่ยต่อหลัง 3 คน ประชากรสูงอายุ 15.79%

  5. โครงสร้างประชากร ปี 2544 ปี 2556 ชาย หญิง หญิง ชาย ประชากร หญิง 365,103 คน | ชาย 360,906 คน หญิง 324,569 คน | ชาย 317,929 คน สัดส่วน วัยเด็ก 18.79 % วัยแรงงาน 65.42% วัยเด็ก 19.73% วัยแรงงาน 68.46% สูงอายุ 15.79 % วัยพึ่งพิง 52.86% สูงอายุ 11.81% วัยพึ่งพิง 46.07%

  6. สถานะสุขภาพของประชาชนสถานะสุขภาพของประชาชน อายุคาดเฉลี่ย (Life expectancy) E0 80 ปี HALE = 72 ปี

  7. ทรัพยากรด้านสาธารณสุขทรัพยากรด้านสาธารณสุข โรงพยาบาลทั่วไป (410 เตียง) 1แห่ง สถานบริการสาธารณสุขนอกสังกัด/เอกชน *กำลังก่อสร้างตึก 8 ชั้น 156 เตียง รพ.สต.สังกัด อปท. 4 แห่ง ศูนย์บริการฯ เทศบาล 5 แห่ง โรงพยาบาลเอกชน 2 แห่ง คลินิกแพทย์ 65 แห่ง คลินิกทันตแพทย์21 แห่ง สถานพยาบาล 146 แห่ง ร้านขายยาปัจจุบัน 134 แห่ง ร้านขายยาแผนโบราณ 51 แห่ง โ รพ. 90 เตียง2แห่ง โ รพ. 60 เตียง2แห่ง โ รพ. 30 เตียง 5 แห่ง รพ.10 เตียง1แห่ง Ext.OPD 1 แห่ง รพ.สต.เดี่ยว 25แห่ง รพ.สต.เครือข่าย 46 เครือข่าย ศสม.2 แห่ง รพ.สต.ในสังกัด 121 แห่ง

  8. แพทย์ บุคลากรสาธารณสุขต่อประชากร ทันตแพทย์ เภสัชกร • ประเทศ 1 : 5,000 • เขต 3 1 : 5,742 • กำแพงเพชร 1 : 6,614 • ประเทศ 1 : 8,000 • เขต 3 1 : 12,779 • กำแพงเพชร 1 : 16,535 • ประเทศ 1 : 5,000 • เขต 3 1 : 8,991 • กำแพงเพชร 1 : 11,024 พยาบาลวิชาชีพ • ประเทศ 1 : 532 • เขต 3 1 : 652 • กำแพงเพชร 1 : 755 บุคลากรแพทย์แผนไทย 97 คน - รพท.24 คน, รพช.29 คน - รพ.สต. 44 คน จำนวน อสม.ที่ได้รับค่าป่วยการ 11,957 คน

  9. สิทธิการรักษาพยาบาล ประชากร 708,569 คน (ณ 31 ม.ค.57) บัตรทอง 79.27% รวมทุกสิทธิ 99.61%ว่างสิทธิ 2,783 คน

  10. ระดับสถานบริการจังหวัดกำแพงเพชรระดับสถานบริการจังหวัดกำแพงเพชร Sกำแพงเพชร รพท. 1 รพช.แม่ข่าย M2 ขาณุวรลักษบุรี (Node) 1 รพช.ใหญ่ 1 รพช.แม่ข่าย F1 คลองขลุง พรานกระต่าย, คลองลาน ลานกระบือ,ไทรงาม,บึงสามัคคี ทรายทองวัฒนา, ปางศิลาทอง 7 รพช. กลาง F2 1 รพช. เล็ก • F3 ทุ่งโพธิ์ทะเล,โกสัมพี • 2 ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง 5 เทศบาล • 25 รพ.สต.เดี่ยว ,46 เครือข่าย(96) • 11 PCU ในโรงพยาบาล 137 เครือข่ายปฐมภูมิ 89 อบต/เทศบาล นสค. 1 : 1,202ปชก. ( 1: 4 อสม.) / อสม. 12,000 คน (1 : 20 หลังคาเรือน)

  11. BUSINESS PLAN 410+156 เตียง 60+30 เตียง 60+30 เตียง Ext OPD 30 เตียง 30 เตียง 30 เตียง 10 เตียง 30 เตียง 30 เตียง 60 เตียง 60 เตียง HA HA HA HA HA HA HA SERVICE PLAN รพ.พรานกระต่าย F2 รพ.โกสัมพีนคร NODE 5 รพ.ลานกระบือ F2 1.47 เตียงต่อ 1,000 (2.5 ต่อ 1,000) รพ.ทุ่งโพธิ์ทะเล F3 S F2 รพ.ไทรงาม รพ.กำแพงเพชร NODE 1 รพ.ทรายทองวัฒนา Financial status 0-1 LC รวม 47-61% (Mean = 52 %) F2 รพ.คลองลาน NODE 3 รพ.บึงสามัคคี F1 F2 รพ.คลองขลุง F2 NODE 4 รพ.ปางศิลาทอง M2 รพ.ขาณุวรลักษบุรี F2 แพทย์ 1 : 8,166 (ประเทศ 1: 4,921) NODE 2

  12. สถานการณ์การพัฒนา • ทุกอำเภอผ่าน ขั้น 3 • PMQA PCA HAพบส. • ODOP 3.9 ล้าน 24 โครงการ • 1.Long term care, 2.Modified –CKD Clinic • 3.Teenage Preg. 4.CA Liver : Liver fluke , • 5. ศพด.ปลอดโรค 6. ไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ • ปรับพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรค DM&HT • 4.8 ล้าน (4,865 คน) DHS คปสอ. • Service Plan • Quality • 1. ลดความแออัด • 2. เพิ่มการเข้าถึงบริการ • โดยพัฒนาศสม. • 3. พัฒนาระบบรับ-ส่งต่อ • ผู้ป่วย /ข้อมูล 5 Node ทุติยภูมิ รพ.แม่ข่าย • ผ่านการรับรอง HA 7 แห่ง (เหลืออีก 5 แห่ง) • ขอรับการประเมิน ปี 2557 • รพ.ไทรงาม /บึงสามัคคี/ลานกระบือ • แผนพัฒนาขีดความสามารถรพช.หัตถการเบื้องต้น Re-opening OR • Referral system: 5 เรื่อง Labour,UGIH, • Apendicitiis, Anemia ,Colles' fracture • LABผ่านการประเมิน LA 6 แห่ง • ขอรับการประเมินมาตรฐาน 4 แห่ง ปฐมภูมิ 25:46 132 PCA ขั้น 2 = 9 แห่ง, ขั้น 1 = 2 แห่ง

  13. “แนวคิด” ชี้ทิศ ชี้เป้า เชื่อมเป้า เชื่อมงาน บูรณาการสู่พื้นที่ โครงการสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย

  14. การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ ตอนที่ IV(123 ตัวชี้วัด) ตอนที่ I ด้านการดูแลผู้ป่วย ด้านการมุ่งเน้นผู้รับผลงาน ด้านการเงิน ด้านทรัพยากรบุคคล ด้านประสิทธิผลของกระบวนการ ด้านการนำ ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ การวางแผน กลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล การนำ ผลการ ดำเนินงาน การมุ่งเน้นผู้ป่วย และสิทธิผู้ป่วย การจัดการ กระบวนการ PMQA/HA/PCAพบส. ระบบงานสำคัญของ PHSDHS /ตอนที่ II ตอนที่ III ความเสี่ยง ความปลอดภัย คุณภาพ การกำกับดูแลวิชาชีพ สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันการติดเชื้อ ระบบเวชระเบียน ระบบจัดการด้านยา การตรวจทดสอบ การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ การทำงานกับชุมชน กระบวนการดูแลผู้ป่วย กระบวนการดูแล OP IP PP การเข้าถึงและเข้ารับบริการ การประเมินผู้ป่วย การวางแผน การดูแลผู้ป่วย การให้ข้อมูลและเสริมพลัง การดูแลต่อเนื่อง วงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

  15. งบประมาณ พัฒนาศักยภาพ อสม.และภาคีเครือข่าย กำแพงเพชร

  16. เป้าหมายและภารกิจ E0 80 ปี HALE 72 ปี

  17. ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยง โรคไม่ติดต่อ อัตราต่อแสนประชากร พฤติกรรมเสี่ยง กินหวาน มัน เค็ม , ผักน้อยสารปนเปื้อนในอาหาร ออกกำลังกายน้อย, อ้วน เครียด, สุรา บุหรี่ สิ่งแวดล้อม/มลภาวะเป็นพิษ ลดการตายก่อนวัยอันควร 25% ในปี 2568

  18. อัตราป่วยของผู้ป่วยนอกตามรหัส ICD10 อัตราต่อพันประชากร

  19. อัตราป่วยของผู้ป่วยในตามรหัส ICD10 อัตราต่อแสนประชากร

  20. 10 อันดับโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (มค.-ธ.ค.56) อัตราต่อแสนประชากร ไข้เลือดออก ไข้หวัดใหญ่ อาหารเป็นพิษ สุกใส ตาแดง มือเท้าปาก STD อุจจาระร่วง ปอดบวม สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน สถานการณ์การเกิดโรครายเดือน กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ กลุ่มอายุ เพศ เพศ เพศ เพศ เพศ เพศ เพศ เพศ เพศ ชาย ชาย ชาย ชาย ชาย ชาย ชาย ชาย ชาย หญิง หญิง หญิง หญิง หญิง หญิง หญิง หญิง หญิง

  21. การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัวให้ CUP (IP,OP,PP) ปี 2551-2557 ล้านบาท AFTER BEFORE PP Long Term Care

  22. OP Visit ภาพรวมจังหวัด Operating Activity : Workload NCD 20-25%

  23. IP Visit ภาพรวมจังหวัด Operating Activity : Workload NCD 20-25% • 50% Admit รพ.กำแพงเพชร • 1/3 Refer จากโรงพยาบาลชุมชน • Acute Appendicitis • Labour Pain • UGIH

  24. วิสัยทัศน์ : ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน 1. อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี 2. อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 72 ปี เป้าหมายระยะ 10 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 1: พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย ยุทธศาสตร์ที่ 2: พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชน สามารถเข้าถึงบริการได้พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย ยุทธศาสตร์ที่ 3 :พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการระบบสนับสนุน ยุทธศาสตร์

  25. ยุทธศาสตร์สุขภาพ เขตบริการสุขภาพที่ 3ปี 2557-2560 • วิสัยทัศน์“เขตบริการสุขภาพที่ 3 มีระบบสุขภาพที่ดี สังคมมีจิตสำนึกด้านสุขภาพ ประชาชนมีสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ” • พันธกิจ • 1. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชน ครอบครัว ชุมชน • และสังคม สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้. • 2. พัฒนาระบบบริการสุขภาพแบบองค์รวมที่มีคุณภาพมาตรฐาน ในทุกระดับ • 3. พัฒนาระบบการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นธรรม 4. การปฏิบัติตามกฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ

  26. ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดกำแพงเพชรปี 2557-256 วิสัยทัศน์“ ผู้นำการผลิตเกษตรปลอดภัย และการท่องเที่ยวถิ่นมรดกโลก” ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. ส่งเสริมและพัฒนาการผลิต การแปรรูป และการตลาดสินค้าเกษตร 2. ส่งเสริม พัฒนา และบริหารจัดการการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพสู่สากล 3. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้อต่อการเกษตร การท่องเที่ยว ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตที่ดี เป้าประสงค์ 1. เศรษฐกิจของจังหวัดเติบโตในอัตราที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง โดยการเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันด้านการเกษตรและการท่องเที่ยว 2. สังคม ชุมชน และประชาชนมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี 3. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้รับการอนุรักษ์และฟื้นฟูอย่างยั่งยืนโดย กระบวนการมีส่วนร่วม

  27. วิสัยทัศน์ “ประชาชนกำแพงเพชร มีสุขภาพดี โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนภายใต้การพัฒนาระบบสุขภาพอย่างมีมาตรฐานภายในปี 2568” ค่านิยม สุจริตโปร่งใส มีใจให้บริการ บูรณาการทำงานเป็นทีม มุ่งสู่ผลสัมฤทธิ์

  28. วิสัยทัศน์ ประชาชนกำแพงเพชร มีสุขภาพดี โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน • ภายใต้การพัฒนาระบบสุขภาพอย่างมีมาตรฐานภายในปี 2568 E0 80 ปี HALE 72ปี พันธกิจ • พัฒนาระบบสุขภาพให้คุณภาพ ประสิทธิภาพทั่วถึงและเป็นธรรม • การเสริมสร้างและสนับสนุนให้ประชาชน มีสุขภาพและจิตสำนึกที่ดีด้านสุขภาพ • ส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายจากทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้านสุขภาพ • การปฏิบัติตามกฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ

  29. เป้าประสงค์ (Goal) • เพื่อให้หน่วยงานของสาธารณสุขมีระบบบริหารงานที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล • เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพอย่างมีคุณภาพมาตรฐาน • ประชาชนและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมและลดปัจจัยเสี่ยงต่อปัญหาด้านสุขภาพ • การใช้กฎหมายเพื่อการคุ้มครองคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ

  30. 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ • การพัฒนาระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล (GG) • การพัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพมาตรฐาน และระบบส่งต่อที่ไร้รอยต่อ (IP+OP(after)) • การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกัน ควบคุมโรค และคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย(pp) (PP(before)) • กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ (GG) Baseline 3 ปี,target 57-60

  31. Goal 1 ระบบการบริหารจัดการในรูปแบบเครือข่ายบริการสุขภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1ระบบบริหาร พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพ ให้เชื่อมโยงอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ KPI15 ตัว 5 แผนงาน Baseline 3 ปี,target 57-60

  32. Goal 2 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพมาตรฐาน และระบบส่งต่อที่ไร้รอยต่อ(IP+OP) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ระบบบริการ การเข้าถึงบริการพัฒนาระบบบริการของหน่วยงานสาธารณสุข (Service Plan) พัฒนาหน่วยบริหารและหน่วยบริการสาธารณสุขให้มี คุณภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (PMQA HA PCA และพบส.) พัฒนาองค์กรด้านการเรียนรู้ และเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม (IP,OP,PP) KPI 57 ตัว 13 แผนงาน Baseline 3 ปี,target 57-60

  33. Goal 3 ประชาชนและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสมและลดปัจจัยเสี่ยงต่อปัญหาด้านสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ปัญหาสุขภาพ 1.1 กลุ่มเด็กปฐมวัย (0-5 ปี) และสตรี 1.2 กลุ่มเด็กวัยเรียน (5-14 ปี) 1.3 กลุ่มเด็กวัยรุ่น/นักศึกษา (15-21 ปี) 1.4 กลุ่มวัยทำงาน(15-59 ปี) 1.5 กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ 1.6 การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ - ไข้เลือดออก - วัณโรค KPI 36 ตัว 5 แผนงาน Baseline 3 ปี,target 57-60

  34. Goal 4 การใช้กฎหมายเพื่อการคุ้มครองสุขภาพและคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ สำหรับประชาชนทุกคน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ 4.1 ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ระดับ จังหวัดที่มีคุณภาพ 4.2 ระบบการบริหารจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม การประกอบการที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ 4.3 งานบริหารจัดการเรื่องร้องเรียนการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ KPI 15 ตัว 2 แผนงาน Baseline 3 ปี,Target 57-60

  35. 1O Care DHS อำเภอ,ตำบล,หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ศูนย์เด็กเล็ก,โรงเรียน,ตลาด To be number 1 ระดับเงิน Cloud system POP 720,000 CommunityApproach HW,SW PW,DW 43File HE EH 2O Care Screening Program DM,HT 76% Depress 50.37% CA cx 65% , CA breast 90% Pre-DM, Pre-HT, ANC, WCC Stroke Fast tract STEMI fast tract 50% Trauma fast tract 55%,68% + กลุ่มดี กลุ่มเสี่ยง600,000 Matrix Record Report Age group Approach Surveillance Performance Financial 8 กรม พหุภาคี + 3O Care NCD Clinic Modi-CKD Clinic,คลินิกจิตเวช Community / Home Ward อบรม Caregiver , Re-Admit Re-Visit,Unit Cost, HbA1c 60% MIS 52 KPI Survey นิเทศ LCT Approach กลุ่มป่วย120,000

  36. BUSINESS & SERVICE PLAN 56-60 • โรคระบบไหลเวียนเลือด • โรคมะเร็ง • โรคความดันโลหิตสูง • อุบัติเหตุ • โรคหลอดเลือดและสมอง • โรคปอดอักเสบ • 7โรคติดเชื้อในกระแสโลหิต • 8. CKD • 9. โรคเบาหวาน • 10. Success suicide • 11. COPD • 12. โรคเอดส์ • 13. แม่ตาย และลูกตาย • 14. ฟันผุในเด็กเล็ก 62% • 15. EID, RID หัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง NCD ตา ไต อุบัติเหตุ จิตเวช ทารกแรกเกิด ทันตกรรม 5 สาขา ปฐมภูมิ+ทุติยภูมิ+ตติยภูมิ+องค์รวม IP+OP+PP Share Resource HR, Finance, Investment Hardware Software Peopleware Dataware Managementware Networkware

  37. แผนสุขภาพ PP25 แผนงาน รวม 220,433,468 บาท สัดส่วนแหล่งงบประมาณ สัดส่วนยุทธศาสตร์

  38. แผนการเงินการคลัง แผนรายได้ - ควบคุมค่าใช้จ่าย จัดทำแผน ภาพ DHS รพท./รพช. รพ.สต./สสอ. ครบ 12 แห่ง เกินดุล 12 แห่ง

  39. ร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณร้อยละการเบิกจ่ายงบประมาณ ในภาพรวมปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ร้อยละ เบิกจ่าย ก่อหนี้ งบประมาณ รายการ 98.57 203.98 - งบบุคลากร 206.93 32.51 13.46 0.16 งบดำเนินงาน 41.92 26.42 ภาพรวมทุกงบ ร้อยละ 74.88 5.86 15.80 งบลงทุน (57) 81.99 16.62 0.05 - งบอุดหนุน 0.34 100 34.31 - งบกลาง 34.31 74.88 257.67 15.97 ภาพรวมจังหวัด 365.48 (หน่วย : ล้านบาท)

  40. การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ(MIS)เพื่อใช้การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ(MIS)เพื่อใช้ ในการบริหารจัดการของหน่วยงานและหน่วยบริการทุกระดับ DATACENTER MIS Report Summary Report Processing & Scheduler SUMMARY SERVER

  41. ใช้ข้อมูลประชากรจากระบบ Data Center ร่วมกันในทุกระดับ

  42. 123 ตัวชี้วัด บันทึกผลงานผ่าน WEB 71 ตัวชี้วัด ประมวลผลจากData Center 52 ตัวชี้วัด มีการติดตามตรวจสอบข้อมูลในระบบ MIS และรายงาน 0110 รง 5 วิเคราะห์ข้อมูลนำเสนอในที่ประชุม คปสจ.ทุกเดือน

  43. งบประมาณ 758,100 บาท สำรวจสภาวะสุขภาพ 1.กลุ่มแม่และเด็ก 2.เด็กก่อนวัยเรียน 3.วัยเรียน-วัยรุ่น 4.วัยทำงาน 5.ผู้สูงอายุและผู้พิการ เป้าหมาย 11 อำเภอ / 2ครั้ง เพื่อติดตามกำกับและประเมินผลตามตัวชี้วัด ที่สอดคล้องกับปัญหาสุขภาพประชาชนและยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพของจังหวัดและประเทศ โครงการสำรวจสภาวะสุขภาพ( Rapid Survey )

  44. สถานการณ์อนามัยแม่และเด็กสถานการณ์อนามัยแม่และเด็ก สัดส่วนการคลอดระหว่างโรงพยาบาล ปัญหาด้าน LBW 2556 1. ฝากครรภ์ไม่ครบ 59.2 % 2. ไม่ฝากครรภ์ 3.6 % 3. ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 3.1 คลอดก่อนกำหนด 36.7 % 3.2 ภาวะการเจริญเติบโตช้าในครรภ์(IUGR ) 3.3 อายุน้อยกว่า 20 ปี 25.6 %

  45. ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ จากการเก็บข้อมูลหญิงคลอดมีภาวะโลหิตจาง ปี 2556 ที่ รพ.กพ.,รพ.ขาณุฯ และ รพ.คลองขลุง 94 ราย พบ - อายุน้อยกว่า 20 ปี 25 ราย (26.6%) - ANC < 12 สัปดาห์ 39 ราย (41.5%) - น้ำหนัก < 2,500 กรัม 4.3 % 2500-2999 กรัม 40.2 % ≥ 3000 กรัม 55.4 % ร้อยละของหญิงคลอดมีภาวะโลหิตจางที่ตรวจครั้งที่ 1 พบค่า Hct < 33 10%

  46. ทารกแรกเกิดน้ำหนัก < 2500 กรัม ผลการวิจัย : การวิเคราะห์อิทธิพลเส้นทางปัจจัยที่มีความสัมพันธ์เชิงสาเหตุกับทารกแรกคลอดน้ำหนักน้อย ในโรงพยาบาลสายใยรัก เขต 18 พบ 2 ตัวแปร ที่มีอิทธิพลทางตรงกับน้ำหนักทารกแรกคลอด คือ 1.) พฤติกรรมการดูแลตนเองระหว่างตั้งครรภ์ 2.) ภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ ไม่เกิน 7% 1. ประชุมคณะกรรมการอนามัยแม่และเด็ก 2. ANC คุณภาพ ไม่น้อยกว่า 70 % 3. โรงพยาบาลสายใยรักระดับทอง 100 % 4. ห้องคลอดคุณภาพประเมิน 2 รพ. (ขาณุฯ, คลองขลุง)

  47. ภาวะตกเลือดหลังคลอด ปี 2552 - 2557 ร้อยละของภาวะตกเลือดหลังคลอด ปี 2556 จำแนกรายโรงพยาบาล เป้าหมายไม่เกิน 5 % ที่มา : 2552-2555 รายงานเฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็ก(ห้องคลอด) 2556-2557 คลังข้อมูล DW_Datacenter

  48. ภาวะทารกแรกเกิดขาดออกซิเจนภาวะทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน อัตราทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน ปี 2556 จำแนกรายโรงพยาบาล ไม่เกิน 25 ต่อ 1,000 การเกิดมีชีพ ที่มา : 2552-2555 รายงานเฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็ก(ห้องคลอด) 2556-2557 คลังข้อมูล DW_Datacenter

  49. อัตรามารดาตาย • อัตราตายของมารดาต่อ100,000 การเกิดมีชีพ • สาเหตุการตาย ไม่เกิน 15 N = 8 ที่มา : รายงานเฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็ก(ห้องคลอด)

More Related