1 / 102

Your Text Here

แสงและการมองเห็น. Your Text Here. แสง( optics ). การผสมแสงสี ความสว่าง ภาพ( image ) ทัศนูปกรณ์. การสะท้อน (Reflection) การหักเห( Refraction) การเลี้ยวเบน( Diffraction) การแทรกสอด(Interference) โพลาไรเซชัน(Polarization) การกระจายของแสง(Dispersion) การกระเจิงของแสง(Scattering)

jerod
Download Presentation

Your Text Here

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แสงและการมองเห็น Your Text Here

  2. แสง(optics) • การผสมแสงสี • ความสว่าง • ภาพ(image) • ทัศนูปกรณ์ • การสะท้อน(Reflection) • การหักเห(Refraction) • การเลี้ยวเบน(Diffraction) • การแทรกสอด(Interference) • โพลาไรเซชัน(Polarization) • การกระจายของแสง(Dispersion) • การกระเจิงของแสง(Scattering) • รุ้งกินน้ำ(Rainbows)

  3. แสงเชิงเรขาคณิต(geometrical optics) • การสะท้อน(Reflection) • การหักเห(Refraction)

  4. แสงเชิงกายภาพ(physical optics) • การเลี้ยวเบน(Diffraction) • การแทรกสอด(Interference) • โพลาไรเซชัน(Polarization)

  5. Isaac Newton • แสงเป็นอนุภาคที่ส่งติดต่อกันออกมา เมื่ออนุภาคเหล่านั้นเข้าสู่นัยน์ตา

  6. Galileo เป็นคนแรกที่พยายามวัดอัตราเร็วของแสง แต่ไม่สามารถวัดได้ แต่สรุปได้ว่า แสงมีอัตราเร็วมาก

  7. Ole Roemer • สังเกตคาบการโคจรของดวงจันทร์ Io รอบดาวพฤหัสและสรุปว่าอัตราเร็วของแสงเท่ากับ 2.3 x 108 m/s

  8. Fizeau • ประสบความสำเร็จในการวัดอัตราเร็วของแสงได้เท่ากับ 3.1 x 108 m/s

  9. Thomas Young

  10. James Clerk Maxwell ทำนายการมีอยู่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และแสดงให้เห็นว่าแสงเป็นส่วนหนึ่งของสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

  11. Heinrich Rudolf Hertz • ค้นพบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

  12. Max Planck • เสนอทฤษฎีควอนตัม อธิบายการแผ่รังสีของวัตถุดำ ด้วยสมการ E = nhf

  13. Albert Einstein • ใช้แนวความคิดแสงเป็นกลุ่มก้อนพลังงานเรียกว่า โฟตอน(Photon) นำไปอธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเลคตริกได้ผลถูกต้องตามการทดลอง โดยใช้แนวความคิดเกี่ยวกับการแผ่รังสีเป็นควอนตัมที่ Planckใช้อธิบายการแผ่รังสีของวัตถุดำ แสงเป็นอนุภาคจึงกลับมาเริ่มเป็นที่ยอมรับ

  14. Arthur H Compton • ค้นพบปรากฏการณ์คอมป์ตัน(compton effect)โดยทดลองฉายรังสีเอกซ์ความยาวคลื่นเดียวไปยังแท่งกราไฟต์แล้ววัดความยาวคลื่นของรังสีเอกซ์ที่กระเจิงออกมา พบว่าความยาวคลื่นของรังสีเอกซ์เปลี่ยนแปลง

  15. Louis de broglie • คลื่นนิ่งของอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่รอบนิวเคลียส • แสงมีลักษณะเป็นสมบัติคู่ คือแสงอาจทำตัวเป็นคลื่นหรืออนุภาคอย่างใดอย่างหนึ่งได้

  16. การแทรกสอด

  17. การแทรกสอด

  18. การแทรกสอด

  19. การแทรกสอด d sin  = n 

  20. การแทรกสอด • d sin  = m  Imax เมื่อ  = 0 , 2 , 4 ……….

  21. ตัวอย่างในการทดลองของยัง ช่องแคบทั้งสอง ห่างกัน 0.8 มิลลิเมตร ส่องด้วยแสง ความยาวคลื่น 590 นาโนเมตร สังเกตเห็นริ้วการแทรกสอดบนจอซึ่งอยู่ ห่าง 0.5 เมตรจากช่องแคบ จงหาระยะ ระหว่างแถบมืดหรือแถบสว่างที่อยู่ ติดกัน

  22. การเลี้ยวเบน(Diffraction)

  23. a sin หรือ a y / D = m • a = ความกว้างของสลิตเดี่ยว • y = ระยะที่แถบมืดห่างจากกึ่งกลางของแถบสว่าง กลาง(A0) • D = ระยะห่างระหว่างสลิตเดี่ยวถึงฉาก • m = ลำดับที่ของแถบมืด = 1,2,3......

  24. ตัวอย่าง แสง ความยาวคลื่น 590 นาโนเมตรเคลื่อนที่ผ่านช่องแคบเดี่ยวที่มีความกว้าง 0.5 มิลลิเมตร แล้วเกิดการเลี้ยวเบนไปปรากฎบนฉากซึ่งห่างจากช่องแคบ 1.0 เมตร จงหาว่าขอบแถบมืดทั้งสองข้างของแถบสว่างกลาง จะอยู่ห่างกันประมาณเท่าไร

  25. เกรตติง(grating) ประกอบด้วยช่องแคบหลายพันเส้นต่อความกว้าง 1 เซนติเมตร ทำโดยขีดเส้นขนานจำนวนมากลงบนแผ่นวัตถุใส เส้นที่ขีดจะเป็นส่วนทึบอยู่ระหว่างช่องแคบทั้งสองข้าง

  26. การแทรกสอดและการเลี้ยวเบนนั้นยังใช้วัดความยาวคลื่นได้ไม่แม่นยำนัก แถบสว่างที่ได้ไม่คมชัดและแคบพอที่จะบอกตำแหน่งของแถบได้แน่นอน ถ้าต้องการให้แถบคมชัดและแคบเพียงพอจะต้องใช้อุปกรณ์ เกรตติงเลี้ยวเบน

  27. Helium spectrum Hydrogen Spectrum

  28. Mercury spectrum Argon spectrum

  29. @ Continuous spectrum แตกต่างจาก Emission line spectrum อย่างไร

  30. แสงทีส่องผ่านgrating ให้ผลที่เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรกับแสงที่ส่องผ่านสลิตเดี่ยวและสลิตคู่?

  31. ถ้าแสงที่ผ่านเกรตติงไปเสริมกัน จะได้ d sin = m d = ระยะห่างของช่อง = 1/จำนวนช่อง = N คือ จำนวนช่องต่อเมตร

  32. ตัวอย่างจงหามุมที่รองรับสเปกตรัมที่ตามองเห็น ลำดับที่หนึ่งและลำดับที่สองที่เกิดจากเกรตติงจำนวนเส้น 20,000เส้นต่อความกว้าง 4 cm สเปกตรัมที่ตามองเห็นมีความยาวคลื่น 400 – 700 nm

  33. โพลาไรเซชัน(polarization) ปรากฏการณ์ที่แสงถูกทำให้เหลือระนาบการสั่นเพียงระนาบเดียวเมื่อ ส่องผ่านวัสดุบางอย่างเช่นแผ่นโพลารอยด์ ,ผ่านผลึกแคลไซต์ หรือการสะท้อนจากวัตถุ

  34. I0 I0

  35. เมื่อแสงผ่านแผ่นโพลารอยด์ 2 แผ่นขึ้นไป ปริมาณแสง(ความเข้มแสง)เป็นปฏิภาคกับกำลังสองของcosine ของมุมระหว่างแกนแผ่นทั้งสอง

  36. กฎมาลุส(Malus’ law) I0 = ความเข้มแสงที่ไม่โพลาไรซ์(unpolarize) Imax = ความเข้มแสงที่ผ่านแผ่น polarizer I1 = ความเข้มแสงที่ผ่านแผ่น analyzer = มุมระหว่างแกนแผ่น analyzer และpolarizer

  37. ตัวทำแสงโพลาไรซ์จะต้องทำมุมเท่าไรกับตัววิเคราะห์ จึงจะลดความเข้มแสงเหลือ ก. 0.5 ของแสงไม่โพลาไรซ์ ข. 0.25 ของแสงไม่โพลาไรซ์

  38. การสะท้อน การหักเห 2 แนว

More Related