140 likes | 301 Views
เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ศักยภาพการผลิตของเกษตรกร. รองศาสตราจารย์ ดร. ชัชรี นฤทุม สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน นครปฐม 73140 โทรศัพท์/โทรสาร 034-281656 หรือ 02-9428010-19 ต่อ 3836 e-mail address: eatchn@ku.ac.th. ความสัมพันธ์ในระบบการผลิต.
E N D
เทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ศักยภาพการผลิตของเกษตรกรเทคนิคและวิธีการวิเคราะห์ศักยภาพการผลิตของเกษตรกร รองศาสตราจารย์ ดร. ชัชรี นฤทุม สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน นครปฐม 73140 โทรศัพท์/โทรสาร 034-281656 หรือ 02-9428010-19 ต่อ 3836 e-mail address: eatchn@ku.ac.th รองศาสตราจารย์ ดร. ชัชรี นฤทุม
ความสัมพันธ์ในระบบการผลิตความสัมพันธ์ในระบบการผลิต ดินน้ำลมไฟ เหมาะสมกับสิ่งผลิตหรือไม่ ปลูกได้ แต่อาจให้ผลผลิตไม่มีคุณภาพ หรือปริมาณน้อย ในภาคเกษตร นอกภาคเกษตร การตลาด-ระบบ วัตถุประสงค์เฉพาะ ประเภทเกษตรกร การศึกษา ประสบการณ์ การรวมกลุ่ม รองศาสตราจารย์ ดร. ชัชรี นฤทุม
หลักการวิเคราะห์ระบบการผลิตเกษตรหลักการวิเคราะห์ระบบการผลิตเกษตร • มองทั้งระบบ มองทุกด้าน (holistic) • ใช้สหวิทยาการ (multidiscipline) • ทุกอย่างมีการเปลี่ยนแปลง (dynamic) • เกษตรกรต้องมีส่วนร่วม (farmer participation) รองศาสตราจารย์ ดร. ชัชรี นฤทุม
การวิเคราะห์ด้านกายภาพ - แผนที่หมู่บ้าน เพื่อรู้จักทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีในพื้นที่ รองศาสตราจารย์ ดร. ชัชรี นฤทุม
การวิเคราะห์ด้านกายภาพ - แผนที่ภาพตัดขวาง เพื่อเข้าใจรายละเอียดและปัญหาของทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีในพื้นที่ รองศาสตราจารย์ ดร. ชัชรี นฤทุม
การวิเคราะห์การผลิตโดยใช้ปฏิทินการเพาะปลูกการวิเคราะห์การผลิตโดยใช้ปฏิทินการเพาะปลูก เพื่อเข้าใจปัจจัยที่ใช้และวิธีการผลิตในแต่ละช่วงเวลา ให้น้ำ ใส่ปุ๋ย และดูแลโรคแมลง เตรียมดิน ปลุก เก็บ เก็บเกี่ยว ทำรุ่น ตัดรากปี 2 รองศาสตราจารย์ ดร. ชัชรี นฤทุม
การวิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจรายครัวเรือนการวิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจรายครัวเรือน • คือ การนำข้อมูลรายรับรายจ่ายทุกประเภทของครัวเรือนมาคิดวิเคราะห์ • ประโยชน์ ทำให้ทราบความสัมพันธ์ของรายรับรายจ่าย และแนวทางแก้ไข • วิธีการ 1. จัดหาข้อมูลทุกด้าน เช่น รายรับจากภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร รายจ่ายในครัวเรือน และรายจ่ายเพื่อการผลิต • 2. นำข้อมูลแสดงในตาราง กราฟแท่ง กราฟวงกลม ฯลฯ เพื่อให้เห็นความเชื่อมโยงและการเปรียบเทียบ • 3. คิดวิเคราะห์และอภิปรายร่วมกับเกษตรกร • 4. การแสดงผล รองศาสตราจารย์ ดร. ชัชรี นฤทุม
นาย ก (ไร่อ้อย 50 ไร่) สมาชิกในครัวเรือน 5 คน รายได้ต่อปี 125000 บาท รายจ่ายต่อปี 130000 บาท หนี้สิน 15000 บาท นาย ข (อ้อย 20 ไร่ ผัก 2 ไร่) สมาชิกในครัวเรือน 4 คน รายได้ต่อปี 280000 บาท รายจ่ายต่อปี 200000 บาท คงเหลือ 80000 บาท ปัจจัยการผลิต 20% ปัจจัยการผลิต 25 % ค่าอาหาร 45% ค่าอาหาร40 อุปโภค20% ทางแก้ไขปัญหา ลดรายจ่ายที่ไม่จำเป็นบางอย่างลง เช่น ค่าอาหาร ค่าอุปโภค เพิ่มค่าปัจจัยการผลิต เช่น ปุ๋ย เพื่อเพิ่มผลผลิตและรายได้ ลดหนี้ลง อุปโภค10% การศึกษา20 % ดอกเบี้ยเงินกู้ 5% การศึกษา 20% เงินออม 5% ทางแก้ไขปัญหา ไม่มีปัญหา ให้คงสถานะนี้ไว้ให้ได้ การวิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจรายครัวเรือน (ต่อ) รองศาสตราจารย์ ดร. ชัชรี นฤทุม
การวิเคราะห์ประเภทเกษตรกรการวิเคราะห์ประเภทเกษตรกร • คือ การนำข้อมูลด้านเศรษฐกิจรายครัวเรือน เช่น พื้นที่ในการผลิต แรงงานในครัวเรือน การผลิตทางเกษตร รายได้สุทธิ เป้าหมายเฉพาะของเกษตรกรแต่ละราย มาวิเคราะห์และจัดกลุ่มเกษตรกร • ประโยชน์ ทราบลักษณะเฉพาะของเกษตรกรแต่ละกลุ่ม ทำให้มีแนวทางแก้ไขหรือโครงการที่เฉพาะเจาะจงเป็นรายกลุ่ม • วิธีการ 1. วิเคราะห์พื้นที่ต่อ 1 แรงงานครัวเรือน • 2. วิเคราะห์การผลิต โดยพิจารณาจากพื้นที่ว่าผลิตพืชใดเป็นร้อยละ • 3. วิเคราะห์รายได้สุทธิต่อ 1 แรงงานครัวเรือน • 4. นำข้อมูลแสดงในตารางเพื่อเห็นภาพรวมและเปรียบเทียบรายครัวเรือน รองศาสตราจารย์ ดร. ชัชรี นฤทุม
การวิเคราะห์ประเภทเกษตรกร (ต่อ) รองศาสตราจารย์ ดร. ชัชรี นฤทุม
การวิเคราะห์ประเภทเกษตรกร (ต่อ) รองศาสตราจารย์ ดร. ชัชรี นฤทุม
การวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของชุมชนการวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของชุมชน • การนำศักยภาพ ปัญหาและความต้องการของชุมชนในทุกด้าน (กายภาพ ชีวภาพ การผลิต เศรษฐกิจ และการจัดการ) มาวิเคราะห์และหาแนวทางแก้ไข • ประโยชน์ รู้ศักยภาพ ปัญหาและความต้องการของชุมชน ใช้ในการกำหนดแผน/ยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน • วิธีการ 1 จัดหาข้อมูลทุกด้านที่กล่าวมาแล้ว วิเคราะห์ว่าเป็น จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส หรือข้อจำกัด (SWOT) • 2. เรียบเรียงลงในตาราง • 3. วิเคราะห์เป็นรายคู่ เพื่อกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาต่อไป รองศาสตราจารย์ ดร. ชัชรี นฤทุม
รองศาสตราจารย์ ดร. ชัชรี นฤทุม