1 / 24

ความคืบหน้าการทำความตกลง การค้าเสรีของประเทศไทย

ความคืบหน้าการทำความตกลง การค้าเสรีของประเทศไทย. โดย นายณัฐวัชร์ จันทร์วิเมลือง กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ วันอังคารที่ 7 มิถุนยน 2548 ณ ห้องซาลอน A โรงแรมสวิสโฮเต็ล เลอ คองคอร์ด. FTA คืออะไร. เขตการค้าเสรี (Free Trade Area -FTA) ประกอบด้วย สองประเทศขึ้นไป

Download Presentation

ความคืบหน้าการทำความตกลง การค้าเสรีของประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความคืบหน้าการทำความตกลงการค้าเสรีของประเทศไทยความคืบหน้าการทำความตกลงการค้าเสรีของประเทศไทย โดย นายณัฐวัชร์ จันทร์วิเมลือง กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ วันอังคารที่ 7 มิถุนยน 2548 ณ ห้องซาลอน Aโรงแรมสวิสโฮเต็ล เลอ คองคอร์ด

  2. FTA คืออะไร • เขตการค้าเสรี (Free Trade Area-FTA)ประกอบด้วย • สองประเทศขึ้นไป • ตกลงจะขยายการค้าและการลงทุนระหว่างกัน • พยายามจะลดอุปสรรคทั้งด้านภาษีและไม่ใช่ภาษีให้เหลือน้อยที่สุด • ครอบคลุมทั้งสินค้า บริการและการลงทุน

  3. ทำไมประเทศต่างๆ จึงสนใจทำ FTA กันมากขึ้น • การเจรจาการค้ารอบใหม่ของ WTO ชะงัก • “มังกรตื่นจากหลับไหล” • จีนเข้าเป็นสมาชิกของ WTO ทำให้ประเทศต่างๆ เกิดความหวั่นเกรงต่อศักยภาพด้านการแข่งขันของจีน • ขยายอำนาจทางเศรษฐกิจในอนาคต • ความได้เปรียบจาก • ตลาดบริโภคขนาดใหญ่ • แรงงานราคาถูก รองรับการผลิต • มีศักยภาพในการส่งออกสูง

  4. ทำไมประเทศต่างๆ จึงสนใจทำ FTA กันมากขึ้น • การให้สิทธิประโยชน์ระหว่างคู่ภาคีส่งผลกระทบต่อประเทศนอกกลุ่ม เกิดแรงกระตุ้นทั้งระบบ • ใช้ FTA เป็นวิธีในการ • หาเพื่อน - สร้างพันธมิตรด้านเศรษฐกิจและการเมือง • หาตลาด - ขยายการค้าและการลงทุนกับภูมิภาคอื่นๆ ที่อยู่ห่างไกล • ประเทศที่มีพื้นที่ขนาดเล็กแต่มีระบบเศรษฐกิจที่เปิดเสรีเต็มที่อยู่แล้ว เช่น สิงคโปร์ และชิลี ได้ใช้ยุทธวิธีนี้อย่างแข็งขัน

  5. แนวโน้มการทำเขตการค้าเสรีแนวโน้มการทำเขตการค้าเสรี โลกมีแนวโน้มทำเขตการค้าเสรีมากขึ้น 70% เป็น Bilateral FTAs Source : WTO

  6. ไทยได้มีการจัดทำ FTA กับประเทศใดบ้าง • คู่เจรจาของไทย 8 ประเทศ 2 กลุ่มเศรษฐกิจ • เจรจาเสร็จแล้ว 3 ประเทศ : ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ จีน • อยู่ระหว่างการเจรจา 5 ประเทศ + 2 กลุ่มเศรษฐกิจ • สหรัฐฯ • ญี่ปุ่น • บาห์เรน • อินเดีย • เปรู • BIMSTEC (บังคลาเทศ อินเดีย พม่า ศรีลังกา ไทย เนปาล และ ภูฎาน) • EFTA (สวิตเซอร์แลนด์ นอร์เวย์ ไอซ์แลนด์ และลิกเตนสไตน์)

  7. ความคืบหน้าของ FTA ในกรอบ • ออสเตรเลีย • นิวซีแลนด์ • จีน • อินเดีย

  8. ไทย-ออสเตรเลีย • สิ่งที่ไทยคาดหวัง คือ ลดมาตรการ SPS • การลดภาษีของไทย - ลดภาษีเหลือ 0ทันที ในปี 2005 ประมาณ 49% ของรายการสินค้า เช่น ธัญพืช เส้นใยใช้ในการทอ โกโก้ อัญมณี รถยนต์นั่งขนาดเกิน 3,000 c.c. - ลดภาษีเหลือ 0 ในปี 2010เช่น ผักผลไม้ พลาสติก กระดาษ สิ่งทอ เสื้อผ้า เหล็ก - สินค้าอ่อนไหว • ลดภาษีเหลือ 0 ในปี 2020 เช่น เนื้อโคเนื้อสุกร นม เครื่องในสัตว์ มันฝรั่ง กาแฟ ชา ข้าวโพด • ลดภาษีเหลือ 0 ในปี 2025 เช่น นมและครีม

  9. ไทย-ออสเตรเลีย  การลดภาษีของออสเตรเลีย • ลดเหลือ 0 ทันที ในปี 2005 ประมาณ 83% ของรายการสินค้า เช่น • สินค้าเกษตรทุกรายการ เช่น เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ ยกเว้น ปลาทูน่ากระป๋อง • สินค้าอุตสาหกรรมทุกรายการ เช่น อัญมณี ทองแดง ตะกั่ว ดีบุก • ลดเหลือ 0 ภายในปี 2010 เช่น สิ่งทอ รองเท้า • สินค้าอ่อนไหว ลดเหลือ 0 ภายในปี 2015 เช่น เสื้อผ้า

  10. ขอบเขตสินค้าอาหาร • สินค้าประมง สด แช่เย็น แช่แข็ง • อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป • ผลไม้ สด แช่เย็น แช่แข็ง แห้ง • ผัก สด แช่เย็น แช่แข็ง แห้ง • ผลไม้ กระป๋องและแปรรูป • ผัก กระป๋องและแปรรูป • ไก่ สด แช่เย็น และแข็ง • ไก่ แปรรูป • อาหารอื่นๆ

  11. การส่งออกอาหารของไทย ปี 2005 (มค-เมย)

  12. การค้าสินค้าระหว่างไทย-ออสเตรเลียการค้าสินค้าระหว่างไทย-ออสเตรเลีย หน่วย : ล้านบาท

  13. ไทย - นิวซีแลนด์ • การเจรจา ใช้ TAFTA เป็นพื้นฐาน • คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบผลการเจรจาด้วยแล้ว รวมทั้งนายกรัฐมนตรีทั้งสองฝ่ายได้ประกาศสรุปผลการเจรจาเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2547 ณ กรุงเวียงจันทน์ • ได้ลงนามความตกลงเมื่อวันที่ 19 เมษายน 2548 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2548

  14. ไทย - นิวซีแลนด์ สรุปสาระสำคัญ ดังนี้ ๏ การค้าสินค้า ในเรื่องการเปิดตลาดและการลดภาษี ทันทีที่ความตกลงมีผลบังคับใช้ - ไทยลดภาษีเหลือ 0 ประมาณ 54% ของรายการสินค้า - นิวซีแลนด์ลดภาษีเหลือ 0 ประมาณ 79% ของรายการสินค้า - ไทยยังมีใช้มาตรการโควตาภาษีและมาตรการปกป้องพิเศษในบางสินค้า ๏ การค้าบริการ จะเริ่มเจรจาใน 3 ปีหลังจากที่ความตกลงมีผลบังคับใช้

  15. การค้าสินค้าระหว่างไทย-นิวซีแลนด์การค้าสินค้าระหว่างไทย-นิวซีแลนด์ หน่วย : ล้านบาท

  16. อาเซียน - จีน สิ่งที่ไทยคาดหวัง คือ เข้าตลาดจีนและขยายการค้าและการลงทุน (ทั้งจากจีนและจากทั่วโลก) ให้จีนใช้ไทยเป็นฐานเชื่อมโยงกับอาเซียน/เอเชียใต้ อาเซียน-จีน ลงนามในกรอบความตกลงเร่งลดภาษีสินค้าบางส่วนก่อน (Early Harvest Programme) ในพิกัดศุลกากรตอนที่ 01-08ตั้งแต่ 1 มกราคม 2004 และภาษีจะลดลงเหลือ 0 ภายในปี 2006 ความคืบหน้ามีการลงนามความตกลงเปิดเสรีการค้าสินค้าและความตกลงว่าด้วยกลไกระงับข้อพิพาท เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2004 ระหว่าง อาเซียน-จีน ทีประเทศลาว เริ่มมีผลบังคับใช้ 1 มกราคม 2005 และเริ่มลดภาษี 1 กรกฎาคม 2005

  17. ไทย-จีน • นำรายการสินค้าเร่งลดภาษีบางส่วนก่อน (Early Harvest) ภายใต้กรอบอาเซียน-จีนมาเร่งลดภาษีเร็วขึ้น โดย • ขั้นแรกนำผักและผลไม้ (พิกัดศุลกากรตอนที่ 07-08) ทุกรายการ (116 รายการ) มาลดอัตราภาษีเหลือ 0% ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2003 • แหล่งกำเนิดสินค้า • - สินค้าที่จะได้รับสิทธิด้านภาษีต้องผ่านกระบวนการผลิตในประเทศทั้งหมด (Wholly Obtained)

  18. รูปแบบการลดภาษี/เลิกภาษีของสินค้าปกติรูปแบบการลดภาษี/เลิกภาษีของสินค้าปกติ

  19. รูปแบบการลด/เลิกภาษี สินค้าอ่อนไหวภายใต้ FTA อาเซียน-จีน

  20. การค้าสินค้าระหว่างไทย-จีนการค้าสินค้าระหว่างไทย-จีน หน่วย : ล้านบาท

  21. ไทย - อินเดีย สิ่งที่คาดหวังเข้าตลาดอินเดียซึ่งประชากรบางกลุ่มมีกำลังซื้อสูง ดึงดูดการลงทุนเข้าไทย และใช้เป็นฐานเข้าเอเชียใต้ ไทย – อินเดียได้มีการเร่งลดภาษีสินค้าบางส่วนทันที 82 รายการ ตั้งแต่ วันที่ 1 กันยายน 2004 สินค้าเร่งลดภาษี EHS  สินค้า 82 รายการ เช่น ผลไม้ (เงาะ มังคุด ลำไย ทุเรียน ) อาหารทะเลกระป๋อง เคมีภัณฑ์ พลาสติกและผลิตภัณฑ์ อัญมณี ไม้อัดพลายวูด เหล็กและเหล็กกล้า อลูมิเนียม เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องจักรกล บอลล์แบริ่ง และกระปุกเกียร์ ฯลฯ  ทะยอยลดภาษีเหลือ 0 % ภายใน 3 ปี (1 กันยายน 2004-1 กันยายน 2006)

  22. ไทย - อินเดีย แหล่งกำเนิดสินค้าเป็นไปตามกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าชั่วคราว (Interim Rue of Origin) โดยเป็นกฎฉพาะของสินค้า แต่ละรายการ (Specific Rule) มีหลักเกณฑ์ ดังนี้ -Wholly Obtained goods คือ สินค้าที่ผลิตโดยใช้วัตุดิบภายในประเทศทั้งหมด เช่นสินค้าเกษตร สินแร่ - Substantial Trasformation คือผลิตตามหลักเกณฑ์การเปลี่ยนพิกัด ในระดับ 4 หลัก 6 หลัก ซึ่งมักใช้ร่วมกับ Percentage criterion - Percentage criterion คือหลักเกณฑ์ที่พิจารณาจากสัดส่วนของวัตถุดิบและต้นทุนการผลิตในประเทศต่อราคาส่งออก (Local Value Added Content) ส่วนใหญ่อยู่ที่ 40%

  23. การค้าสินค้าระหว่างไทย-อินเดียการค้าสินค้าระหว่างไทย-อินเดีย หน่วย : ล้านบาท

  24. ข้อมูลเพิ่มเติม www.dtn.moc.go.th www.thaifta.com FTA Unit โทร. 0 2507 7444 0 2507 7555 0 2507 7680 0 2507 7687

More Related