490 likes | 702 Views
ทรงพระเจริญ. แนวทางการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนของจังหวัดร้อยเอ็ด. โดยว่าที่ ร.ต. ทวี นาอุดม. ยินดีต้อนรับ. คณะกรรมการ ประสานงาน วิสาหกิจ ชุมชนระดับเขตที่ 4. แผนภูมิแสดงพื้นที่การเกษตร. รวมพื้นที่ถือครองการเกษตร. 3,594,747 ไร่. พืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัดร้อยเอ็ด.
E N D
ทรงพระเจริญ แนวทางการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนของจังหวัดร้อยเอ็ด โดยว่าที่ ร.ต. ทวี นาอุดม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประสานงาน วิสาหกิจชุมชนระดับเขตที่ 4
แผนภูมิแสดงพื้นที่การเกษตรแผนภูมิแสดงพื้นที่การเกษตร รวมพื้นที่ถือครองการเกษตร 3,594,747 ไร่
พืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัดร้อยเอ็ดพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัดร้อยเอ็ด • ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง ยางพารา ข้าวโพด มะม่วง ยาสูบ
ข้อมูลสถาบันเกษตรกร ข้อมูล ณ วันที่ 12 เมษายน 2555 • กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร 1,291 กลุ่ม สมาชิก 31,123 ราย • กลุ่มยุวเกษตรกร 196กลุ่ม สมาชิก 5,044 ราย • กลุ่มส่งเสริมอาชีพ 174กลุ่ม สมาชิก 4,030 ราย • วิสาหกิจชุมชน 3,147 แห่ง สมาชิก 69,325 ราย • เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน 4 แห่ง สมาชิก 117 ราย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดร้อยเอ็ดยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดร้อยเอ็ด • วิสัยทัศน์:เป็นผู้นำการผลิตข้าวหอมมะลิสู่ตลาดโลก เมืองแห่ง การท่องเที่ยววิถีพุทธ และสังคมสงบสุข • ยุทธศาสตร์ 3 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย ยุทธฯที่ 1 : ส่งเสริมการผลิตภาคการเกษตรให้แข่งขันได้ยุทธฯที่ 2: ส่งเสริมอุตสาหกรรมการผลิต การท่องเที่ยว และการบริการ ยุทธฯที่ 3 : พัฒนาคนและสังคมให้เข้มแข็ง
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสำนักงานเกษตรจังหวัดยุทธศาสตร์การพัฒนาสำนักงานเกษตรจังหวัด วิสัยทัศน์ “องค์กรที่มุ่งให้เกษตรกรผลิตสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพ ควบคู่กับการพัฒนาเกษตรกรให้มีความมั่นคงยั่งยืน” คำขวัญ “ มีคนอยู่ทั่วทิศ เป็นมิตรแท้ของเกษตรกร ”
พันธกิจ 1.พัฒนางานด้านส่งเสริมการเกษตร และถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรเพื่อการผลิตสินค้าที่ปลอดภัยฯ 2.ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร องค์กรเกษตร และวิสาหกิจชุมชนให้เข้มแข็งพึ่งพาตนเอง 3.ให้บริการทางการเกษตรตามสภาพปัญหา ความต้องการของเกษตรกร โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ประเด็นยุทธศาสตร์ ยุทธฯ ที่ 1เสริมสร้างขีดความสามารถของเกษตรกร ในการผลิตและจัดการสินค้าเกษตรให้ปลอดภัย ยุทธฯ ที่ 2 ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาเกษตรกร องค์กรเกษตร และวิสาหกิจชุมชน ยุทธฯ ที่ 3 พัฒนาบุคลการให้เป็นผู้ชำนาญการและมี จิตสำนึกในการให้บริการเกษตรกร
วิสาหกิจชุมชนในจังหวัดร้อยเอ็ดข้อมูล ณ วันที่ 12 เม.ย. 55 จดทะเบียนทั้งหมด 3,147 แห่ง ประเมินฯ 2,649 แห่ง 84.17 % ต้องปรับปรุง 637 แห่ง 20.24 % ระดับดี 453 แห่ง 14. 39% ปานกลาง 1,559 แห่ง49.53 %
ประเภท/กิจกรรมวิสาหกิจชุมชนประเภท/กิจกรรมวิสาหกิจชุมชน 1. การผลิตพืช 791 แห่ง 22 % (ข้าว ยาสูบ เห็ด) 2. ผลิตภัณฑ์ผ้าทอ/เสื้อผ้า 670 แห่ง 19 % 3. การผลิตปศุสัตว์ 383 แห่ง 11 % (โคเนื้อ, สุกร) 4. ออมทรัพย์ชุมชน 312 แห่ง 9 % 5. การผลิตปัจจัยการผลิต 280 แห่ง 8 %
แบ่งหน้าที่การทำงานเป็น 2 ส่วน จัดประชุม ติดตามความก้าวหน้าและประเมินผลการส่งเสริมฯ บทบาทภารกิจสำนักงานเกษตรจังหวัด 1.สำนักงานเลขาฯ การนำข้อมูลกำหนดเป้าหมาย วิเคราะห์และจำแนกประเภท วสช. ประสานเชื่อมโยงกับองค์กรและหน่วยงานต่างๆ ผลักดันและส่งเสริมให้เกิดเครือข่ายประเภทอาชีพเดียวกัน
2.ส่งเสริมตามบทบาทภารกิจ2.ส่งเสริมตามบทบาทภารกิจ บทบาทภารกิจสำนักงานเกษตรจังหวัด วสช.ประเภทผลิตพืช วสช.ประเภทแปรรูปอาหาร วสช.ประเภทบริการฯ วสช.ต้นแบบเป็นแหล่งเรียนรู้
แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนวิสาหกิจชุมชนของจังหวัดร้อยเอ็ดแนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนวิสาหกิจชุมชนของจังหวัดร้อยเอ็ด สร้างความเข้าใจ พรบ. / จด / ต่อ / ยกเลิก / เพิกถอน ทะเบียน ค้นหาศักยภาพของวิสาหกิจชุมชน จัดเวทีเรียนรู้สมาชิกวิสาหกิจชุมชน กำหนดแผนการพัฒนา ดำเนินการเองได้หรือต้องการส่งเสริมและสนับสนุน ตามบทบาทภารกิจของหน่วยงาน ส่งเสริมที่ต้องใช้การบูรณาการ
1.มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานระดับอำเภอและตำบลคอยส่งเสริม1.มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานระดับอำเภอและตำบลคอยส่งเสริม แนวทางส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่ 2. ค้นหาและวิเคราะห์กิจกรรมที่ต้องการแก้ไขปัญหา 3.ส่งเสริมและสนับสนุนคนในชุมชนที่มีความตั้งใจ 4.ประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชน 5.วสช.นำข้อมูลจาการประเมินมาวางแผนการพัฒนา วสช. 6. ส่งข้อมูล ข้อ 5ให้หน่วยงานภาคีร่วมส่งเสริม
การจัดทำแผนชุมชน เวที เวทีที่1 เวทีที่2 เวทีที่3 เวทีที่4 1.ปรับกระบวนทัศน์ เวทีที่5 เวทีที่6 2.ทำความเข้าใจในการพัฒนาที่ผ่านมา เวทีที่7 3.ประเมินศักยภาพของชุมชน 4.ศึกษาดูงานต้นแบบ 1 5. กำหนดแนวทางการพัฒนา ชุมชนคิดเป็น ทำเป็น แก้ไขปัญหาได้ 6. จัดทำแผนชุมชน 7. ประชาพิจารณ์แผนชุมชน
ระวัง ต้องสร้างความเข้าใจ
ระวัง ต้องสร้างความเข้าใจ
วิสาหกิจชุมชนต้องร่วมกันค้นหาตนเองในเรื่องวิสาหกิจชุมชนต้องร่วมกันค้นหาตนเองในเรื่อง - การวิเคราะห์ปัญหา - การค้นหาศักยภาพ - การวางทิศทางและเป้าหมาย - การวางแผนงานและกิจกรรมที่ชัดเจน - การเรียนรู้ - ข้อมูลข่าวสาร - การบริหารจัดการตลาด
- การบริหารจัดการสินค้าและบริการ - การบริการตอบสนองสมาชิกและชุมชน - การให้ความสำคัญต่อสิ่งแวดลอม - การจัดสรรผลประโยชน์และคืนกำไรสู่สังคม
การประสานแผนพัฒนาวิสาหกิจชุมชนการประสานแผนพัฒนาวิสาหกิจชุมชน - การประชุมคณะอนุกรรมการส่งเสริมวสช.อำเภอ - การประชุมคณะอนุกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัด - การประชุมคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัด - การประสานงานองค์กรปกครองท้องถิ่น - การประสานงานหน่วยงานภาคีตามบทบาทภารกิจ
กฎเหล็ก 8 ประการของเจ้าของกิจการ 1. ชอบความท้าทาย 2. มีความคิดริเริ่ม INNOVATION 3. เก่งในการจัดการ 4. มีภาวะผู้นำ 5. มีความรู้ทางเทคนิค 6. มีวินัยด้านการเงิน 7. รู้จักใจลูกค้า 8. มีความคิดสร้างสรรCREATIVE
เงื่อนไขสนับสนุน=> วิสาหกิจชุมชน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 ( 2550 – 2554) นโยบายและยุทธศาสตร์ชาติ3.1 OTOP3.2 กองทุนหมู่บ้าน 1 ล้านบาท3.3 พักชำระหนี้และการฟื้นฟูหลังการพักชำระหนี้ 3.4 พัฒนาศักยภาพของหมู่บ้าน/ชุมชน (SML)3.5 ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
เงื่อนไขสนับสนุน => วิสาหกิจชุมชน 4. ความพร้อมของชุมชน4.1 การมีองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับศักยภาพ ของชุมชน4.2 การมีกระบวนการเรียนรู้ที่มาจากประสบการณ์4.3 การมีชุมชนต้นแบบการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
เป้าประสงค์การส่งเสริมฯ ใช้กระบวนการแก้ไขความยากจน (แก้จน) ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ขยายโอกาส
กรณีการบูรณาการ • ประสานบูรณาการหน่วยงาน จัดตั้งโรงงานผลิตแป้งข้าวหอมมะลิฯ กลุ่มทำงาน(ศูนย์ข้าว/กลุ่มแม่บ้าน/คณะกรรมศูนย์) ส่งเสริมพัฒนากลุ่ม/ชุมชน ประสานท้องถิ่น/จังหวัด/มก.
วิสาหกิจชุมชนผลิตแป้งข้าวหอมมะลิวิสาหกิจชุมชนผลิตแป้งข้าวหอมมะลิ สนง.เกษตรจังหวัด/สธ./มก. ท้องถิ่น/วสช.กลุ่มทำขนม จัดทำการตลาด วสช.ผลิตแป้งข้าวหอมมะลิ วสช.ศูนย์ผลิตฯข้าวชุมชน จัดตั้งโรงงานผลิตแป้งข้าวหอมมะลิฯ
จุดประสานเริ่มฯ ท้องถิ่น วสช. ศูนย์ข้าวชุมชน สนง.เกษตรฯ/สธ/ศธ./ มก. วสช. ผลิตแป้งฯ วสช.กลุ่มทำขนมฯ
เดิมนำร่อง วัตถุ ประสงค์ ทดแทน แป้งสาลี โรงแป้งได้มาตรฐาน ผู้บริโภค ตอบรับ ผลิตภัณฑ์ OK คุณภาพแป้ง ผ่านฯ
วิจัยขับเคลื่อน(มก.) พัฒนาคุณภาพแป้งได้มาตรฐาน เศรษฐศาสตร์ วัตถุประสงค์ -เพิ่มทางเลือกที่ดี แก่ผู้บริโภค - ใช้วัตถุดิบ ในพื้นที่ การตอบรับ ของผู้บริโภค พัฒนาโรงแป้งได้มาตรฐาน พัฒนา ผลิตภัณฑ์ คุณภาพแป้ง ผ่านฯ
งบประมาณ เครื่องจักร งบจังหวัด ศูนย์ข้าวชุมชน/ กลุ่มแม่บ้านฯ วัสดุ/แรงงาน ชุมชน ที่ดิน ชุมชนจัดหา ไฟฟ้า ท้องถิ่น โรงแป้งท้องถิ่น
ปัจจุบัน ผลิตแป้งได้มาตรฐาน ตลาด - แป้ง กลุ่มในพื้นที่ ผู้ประกอบการ (ในจังหวัด 2 ร้าน /นนบุรี) - ขนม ส่งสหพันธ์ทัวร์ ลูกค้าทั่วไป ได้สูตรขนมที่ ผู้บริโภค OK จนท.มีความรู้ มั่นใจ ผู้ประกอบการ OK ในผลิตภัณฑ์
ทุกด้านOK ระดับหนึ่ง สิ่งที่ควรสนับสนุน ศึกษาเพิ่มเติม ประชาสัมพันธ์ หาช่องทางตลาด
ทำต่อปี 55 จัดทำ KM ที่เกี่ยวข้อง ประชา สัมพันธ์ ขยายผล 20 กลุ่ม พัฒนา จนท.เพิ่ม ร่วมกับผู้ประกอบการ
ประชาสัมพันธ์ จำหน่าย สัมมนาฯ ผู้ ที่เกี่ยวข้อง นิทรรศการ แข่งขันสาธิต เปิดห้องเรียน หลักสูตรขนมต่างๆ ประกวดผลิตภัณฑ์
ความไม่รู้ โลกาภิวัตน์
ปัญญา โลกาภิวัตน์