310 likes | 453 Views
บทบาทโรงพยาบาลนวมินทร์เพื่อร่วมเป็นพันธมิตร เติมเต็มการควบคุมวัณโรคประเทศไทย. ศาสตราจารย์นายแพทย์ธีระ รามสูต ประธานกรรมการบริหาร โรงพยาบาลนวมินทร์ และกลุ่มโรงพยาบาลในเครือนวมินทร์ ที่ปรึกษากรมควบคุมโรค อดีตอธิบดีกรมควบคุมโรคติดต่อ และรองปลัดกระทรวงสาธารณสุข. 2.
E N D
บทบาทโรงพยาบาลนวมินทร์เพื่อร่วมเป็นพันธมิตรเติมเต็มการควบคุมวัณโรคประเทศไทยบทบาทโรงพยาบาลนวมินทร์เพื่อร่วมเป็นพันธมิตรเติมเต็มการควบคุมวัณโรคประเทศไทย ศาสตราจารย์นายแพทย์ธีระ รามสูต ประธานกรรมการบริหาร โรงพยาบาลนวมินทร์ และกลุ่มโรงพยาบาลในเครือนวมินทร์ ที่ปรึกษากรมควบคุมโรค อดีตอธิบดีกรมควบคุมโรคติดต่อ และรองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
2 สรุปประวัติและความพร้อมของ ร.พ.นวมินทร์ก่อนเข้าร่วมโครงการควบคุมวัณโรค ปี 2538 จัดตั้งเปิดเป็น รพ.เอกชนขนาด 180 เตียง ที่เขตเทศบาลเมืองมีนบุรี และเข้าร่วมโครงการประกันสังคม • จัดตั้งฝ่ายประกันสังคมและบุกเบิกพัฒนาเป็น รพ.เอกชนผู้นำในโครงการประกันสังคมที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ • ผ่านการรับรองมาตรฐานคุณภาพ ISO HA ระดับสอง และ HPH. • เป็นที่ศึกษาดูงานโครงการประกันสังคมจาก รพ.ภาครัฐ และ รพ.เอกชน และคณะพยาบาลศาสตร์ ม.ขอนแก่น ฯลฯ • ปัจจุบันมีผู้ประกันตนรวม 113,711 คน ใน กทม. และมีเครือข่ายคลินิกแพทย์เอกชนร่วมโครงการฯ เกือบ 200 แห่ง
3 ปี 2545 ได้เข้าร่วมโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า สปสช. • จัดตั้งฝ่ายเวชศาสตร์ชุมชุม บุกเบิกพัฒนาเป็น รพ.เอกชนผู้นำงานประกันสุขภาพถ้วนหน้าตามมาตรฐาน สปสช. • จัดตั้ง PCU ใน รพ.นวมินทร์ 1 คลินิก และ PCU 13 คลินิกกระจายในพื้นที่ประชากรผู้ประกันตนใน 6 เขตของ กทม. ภาคตะวันออก คือ มีนบุรี บางกะปิ คลองสามวา คันนายาว บึงกุ่ม สะพานสูง เพื่อดูแลผู้ประกันตนรวม 199,324 คน • ได้รับรางวัล รพ.เอกชนส่งเสริมสุขภาพดีเด่น จาก กรมอนามัย ในปี 2553
5 แผนที่แสดง PCU 14 คลินิก ใน 9 เขตของ กทม.
6 เหตุผลและความพร้อมการเข้าร่วมเป็นพันธมิตร โครงการควบคุมวัณโรค กองทุนโลกในปี 2553 • ความพร้อม / ประสบการณ์การเป็น รพ.เอกชนผู้นำในโครงการประกันสังคม / โครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า ดังกล่าวแล้ว • มีระบบงาน รพ.ที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน สำนักงานประกันสังคม , สปสช. , ISO , HA , HPH และ รพ.นวมินทร์ 9 เป็นพี่เลี้ยงที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล HA , HPH และ JCI • มีระบบงานที่พร้อมและประสบการณ์สูงในการบริการผู้ประกันตน 199,324 คนในพื้นที่ กทม.ภาคตะวันออก 6 เขต ในโครงการประกันสุภาพถ้วนหน้า - ฝ่ายเวชศาสตร์ชุมชนที่บริการเชื่อมโยงบูรณาการ - ทีมสหวิชาชีพและสาธารณสุขในเครือข่ายบริการ - รพ.นวมินทร์ - คลินิก PCU ใน รพ.นวมินทร์ 1 คลินิก - คลินิก PCU กระจายใน ชุมชน 13 คลินิกในพื้นที่ 6 เขต กทม. มีนบุรี บางกะปิ บึงกุ่ม คันนายาว คลองสามวา สะพานสูง • ประสบการณ์ส่งเสริมสุขภาพได้รับรางวัล รพ.เอกชน ส่งเสริมสุขภาพดีเด่น กรมอนามัยปี 2553 เพื่อบริการสุขภาพอย่างบูรณาการ ครบองค์รวมอย่างต่อเนื่องตามมาตรฐาน Hospital - Based Care Family – Based Care Community - Based Care
8 ประสบปัญหามีแนวโน้มพบผู้ป่วยวัณโรคเพิ่มมากขึ้น ปี 2552ปี 2553ปี 2554 194 คน 264 คน 298 คน 5. 6. 7. ตรวจพบผู้ป่วย MPR TB 7 ราย การส่งต่อ รพ.เครือข่ายวัณโรคดื้อยา ต้นทุนรักษา 1 ราย 12 -18 เดือน 2 แสนบาท ต้นทุนการส่งต่อรักษา 1 ราย 18 -24 เดือน 1 ล้านบาท พบบุคลากร รพ.นวมินทร์ติด TB 2 ราย
10 จุดแข็ง (Strength) ที่สนับสนุนการเข้าร่วมโครงการควบคุมวัณโรค • รพ.นวมินทร์ มีคณะกรรมการผสมผสานงาน TB/HIV • มีแนวทางมาตรฐานการดูแลรักษาผู้ป่วย TB และส่งต่อการรักษาวัณโรคดื้อยาที่เป็นมาตรฐานชัดเจนของ WHO และสำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค • มีเครือข่ายห้องปฏิบัติการวัณโรคที่ดี • มีเครือข่ายหน่วยงานเกี่ยวข้อง/พันธมิตรในการควบคุมวัณโรคที่ดี • สามารถประสานงานควบคุมวัณโรคใน รพ. , คลินิก PCU 14 แห่งในพื้นที่ 6 อำเภอและชุมชนได้ดี • มีระบบดูแลรักษา TB , HIV ในชุมชน ผสมผสานงานคลินิกวัณโรค และคลินิกเอดส์ได้ดี • มีการประสานงานการควบคุมโรคติดเชื้อใน รพ. กับองค์กรวิชาชีพเกี่ยวข้องตามมาตรฐาน HA • มีทีมบุคลากรสหวิชาชีพ และทีมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่เข้มแข็งทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ และบูรณาการทำงานเกื้อหนุนกันระหว่างเครือข่ายฝ่ายเวชศาสตร์ชุมชน คลินิกวัณโรค คลินิก HIV/AIDS และคลินิก PCU ทั้ง 14 แห่งใน รพ. และเขตต่างๆ
13 โอกาส (Opportunity) ที่ดีในการเข้าร่วมโครงการควบคุมวัณโรค • กระแสสาธารณะตระหนักว่าวัณโรคกำลังเป็นปัญหาสาธารณสุข • มีนโยบายสนับสนุนชัดเจนทั้งด้านการเร่งรัดดำเนินงานควบคุมวัณโรค และการผสมผสานงาน TB/ HIV เพื่อลดความรุนแรงของโรค • มีเครือข่ายองค์กรที่ให้การสนับสนุนที่เข้มแข็งทั้งระดับในประเทศ และนาชาติเป็นพันธมิตรที่ดี • มีการสนับสนุนการพัฒนาเครือข่ายห้องปฏิบัติการ • มีแกนนำหลักให้การสนับสนุนและพี่งพาได้ • สำนักอนามัยพัฒนาโปรแกรม TBCM ที่ดี • สปสช. พัฒนาโปรแกรม SMART – TB ที่ดี
14 กลยุทธที่ใช้ในการควบคุมวัณโรค ดำเนินตามกลยุทธมาตรฐานของแผนงานควบคุมวัณโรคแห่งชาติ (NTP) / WHO และแนวทางมาตรฐานการดำเนินงานควบคุมวัณโรค (Training Module) กลยุทธที่ 1: ส่งเสริมการดำเนินงาน DOTS อย่างมีคุณภาพ (Pursue Quality DOTS Expansion And Enhancement ) โดย คลินิก TB/PCU/จนท.สช./พี่เลี้ยงและญาติ/เภสัชกรนับเม็ดยา ฯลฯ กลยุทธที่ 2: เร่งรัดติดตามงานผสมผสานงานวัณโรคและเอดส์ วัณโรคดื้อยา และปัญหาท้าทายอื่นๆ (Address TB/HIV , MDR-TB And Other Challenges) โดย คลินิก TB, คลินิก HIV, ระบบส่งต่อและรักษาผู้ป่วยดื้อยา ฯลฯ
15 กลยุทธที่ 3: การสร้างเสริมความเข้มแข็งระบบสาธารณสุข เพื่อการควบคุมวัณโรค โดยยึดหลักการสาธารณสุขมูลฐาน (Contribute to health System Strengthening Based on-Primary Health Care) โดย - การแต่งตั้งคณะกรรมการควบคุมวัณโรคระดับ รพ./ PCU. - จนท.สธ. พี่เลี้ยงผู้ประสานงานวัณโรค (Mr.TB) /ทีมสหวิชาชีพ /ทีมสาธารณสุข ฯลฯ - การพัฒนาระบบข้อมูล Smart TB,TBCM. - แยก TB Clinic และห้องตรวจไม่ปะปนผู้ช่วยอื่น - มีระบบ IC ห้องแยก Admit ผู้ป่วย TB พร้อมระบบ Fast Tract - มีตู้เก็บเสมหะแยกเฉพาะ - มีการจัดทำ CPG ในคลินิกวัณโรคและ CPU ตามมาตรฐาน - มี จนท.สธ. PCU ร่วมงานกับแกนนำ/ผู้นำชุมชน/อสส./ผู้ป่วย/ญาติ/Home Carer ฯลฯ
16 ยุทธศาสตร์ที่ 4: พัฒนาการประสานการมีส่วนร่วมหน่วยงาน / องค์กรภาครัฐ และ ภาคเอกชนพันธมิตร ที่เกี่ยวข้องกับการบริการบริการสุขภาพ (Engage All Care Providers / Public-PublicAnd Public- private mix: PPM) เช่น สปสช., สำนักวัณโรค , สำนักอนามัย , ศูนย์บริการ สธ. , กลุ่ม NCD , World Vision, Principal RecipientAdministrative Office , PR-DDC, raks thai ,ARC , Thailand Business Coalition- Aids ฯลฯ
18 ยุทธศาสตร์ที่ 5: พัฒนาการสื่อสารสาธารณะ และการมีส่วนร่วมของสังคมและ ชุมชนเชิงพันธมิตรที่เกี่ยวข้องกับการบริการบริการสุขภาพ ( Empower peoplewith TB and Communities Through partnership /Advocacy Communication and Social Mobilization: ACSM ) โดย ทีมสาธารณสุขของฝ่ายเวชศาสตร์ชุมชน และ PCU 14 แห่ง ร่วมกับตัวแทน ภาคประชาชน , ผู้นำชุมชน , แกนนำชุมชน ชุมชนสาธิตเขตโซนศรีนครินทร์
19 การจัดระบบเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับโครงการควบคุมวัณโรค ของ รพ.นวมินทร์ 1. สร้างระบบเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับโครงการควบคุมวัณโรค ของ รพ.นวมินทร์ จัดตั้ง TB Clinic หรือ HIV Clinic ใน รพ. ตามมาตรฐาน กรมควบคุมโรค และWHO บูรณาการงานควบคุมวัณโรค ใน TB Clinic และ PCU ใน รพ. และ PCU 13 แห่งในพื้นที่ 9 เขตที่รับผิดชอบ ในโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยกำหนดบุคลากรสหวิชาชีพ รับผิดชอบทุกระดับ จัดตั้งคณะกรรมการควบคุมวัณโรคทั้งในระดับ รพ. และระดับ PCU ทุกแห่ง จัดตั้งศูนย์ประสานงานคลิกนิกเครือข่าย PCU ร่วมงานกับฝ่ายเวชศาสตร์ชุมชนของ รพ. จัดตั้งและพัฒนาผู้นำและแกนนำชุมชน และ อสส. ในพื้นที่ทั้ง 9เขต เพื่อประสานงาน
20 2. พัฒนากระบวนการดูแลผู้ป่วยวัณโรคที่บ้านอย่างบูรณาการ ครบองค์รวมอย่างต่อเนื่องตามมาตรฐาน สำนักวัณโรค / WHO / สปสช. บริการแบบบูรณาการ / เชื่อมโยงระหว่าง Hospital- Based Care/Family-Based Care /Community- Based Care กำหนดเจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้รับผิดชอบเป็นพี่เลี้ยงดูแลผู้ป่วยวัณโรค (Mr.TB) ทุก PCU ในการติดตามเยี่ยม บ้านและกำกับการกินยา ร่วมกับ Home Carer จัดทำระบบทะเบียนผู้ป่วย TB ที่ได้รับการแจ้งชื่อ/ที่อยู่/ประวัติการรักษาและจำหน่ายเพื่อส่งต่อให้เครือข่าย PCU เป็นพี่เลี้ยงดูแลต่อ จัดประชุมปฐมนิเทศชี้แจงการดำเนินงานเจ้าหน้าที่ PCU ทุกแห่งเพื่อดำเนินตามมาตรฐานและแนวทางเดียวกัน จัดอบรมพัฒนาองค์ความรู้และทักษะการรักษาและควบคุมวัณโรคแก่เจ้าหน้าที่เกี่ยวข้องทุกระดับ การดูแลนิเทศงานและติดตามผลงาน โดย ศูนย์ประสานงานคลินิกเครือข่าย PCU / ฝ่ายเวชศาสตร์ชุมชน / คณะกรรมการควบคุมวัณโรค รพ.และ PCU
21 3. กำหนดบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานและบุคลากรเกี่ยวข้องทุกระดับตามมาตรฐาน สำนักวัณโรค/WHO/สปสช. ทีมสหวิชาชีพ รพ.นวมินทร์ /คลินิก TB/ ฝ่ายเวชศาสตร์ชุมชน/ ศูนย์ประสานงานคลินิกเครือข่าย PCU / คณะกรรมการควบคุมวัณโรค เจ้าหน้าที่สาธารณสุขของ PCU ผู้เป็นพี่เลี้ยงดูแลติดตามประสานสนับสนุนในทุก 14 คลินิก PCU อาสาสมัครสาธารณสุข (อสส.) ญาติหรือผู้ดูแลผู้ป่วยที่บ้าน ( Home Carer) แกนนำชุมชน / ผู้นำชุมชน
22 แนวทางการประสานงานระหว่างหน่วยงานในเครือข่ายพัฒนาคุณภาพบริการการรักษาวัณโรคและผู้ติดเชื้อ HIV / AIDS ติดตามคุณภาพ การให้บริการ บริหารงบประมาณ ด้านการพัฒนา สนับสนุน ด้านวิชาการ • สปสช. • SSF • ศูนย์บริการสาธารรสุข 43 แม่ข่าย • สปสช. • SSF ระดับ จังหวัด • สำนักอนามัยกรุงเทพมหานคร • สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค • รพ.ผู้ให้บริการดูแล • รักษาวัณโรค • HIV/AIDS • ศูนย์บริการสาธารณสุข 43 • แม่ข่าย • ทีมพี่เลี้ยง ระดับ เขต • สปสช. เขต 13 • SSF • ศูนย์บริการสาธารรสุข 43 แม่ข่าย • ทีมพี่เลี้ยง ระดับ หน่วยงาน • โรงพยาบาลนวมินทร์ • ศูนย์ประสานงานคลินิกเครือข่าย PCU • คลินิก PCU 14 แห่ง • สปสช. เขต 13 • SSF • โรงพยาบาลนวมินทร์
23 สรุปปัจจัยที่ช่วยให้งานควบคุมวัณโรคของ รพ.นวมินทร์ สำเร็จในระดับได้ผลดี( Key Successful Factors ) 1. การวางแผนดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคแบบบูรณาการ ครบองค์รวม และต่อเนื่องโดยอาศัยกลไกระบบ DOTS และการประสานกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ของทีมสาธารณสุขของ PCU ทั้ง 14 แห่งที่ใกล้บ้าน การร่วมประสานกับผู้ป่วย ครอบครัว อสส. แกนนำชุมชน ช่วยเสริมพลัง การดูแลตนเอง การรักษาให้หายขาด การป้องกันการเผยแพร่เชื้อ การลดความเสี่ยงของ Relapse การลด Revisit และ Readmit
24 2. • แพทย์ รพ.นวมินทร์ คลินิกวัณโรค ร่วมกับแพทย์คลินิก PCU 14 แห่งร่วมกัน • วางแผนการรักษา • วางแผนการจำหน่าย • การติดตามดูแลต่อเนื่องที่บ้านและชุมชนโดยทีม สธ. • งานป้องกันควบคุมโรคในชุมชนโดยทีม สธ. ของ • ศูนย์เวชศาสตร์ชุมชน PCU 14 แห่ง บูรณาการระหว่าง Hospital- Based Care Family- Based Care Community- Based Care การรักษาที่บูรณาการ / ครบองค์รวม / ต่อเนื่องตามมาตรฐาน
25 3. การประสานความร่วมมือของภาคีเครือข่าย ผู้ป่วย + ญาติ + อสส. + แกนนำชุมชน + ทีมสาธารณสุขของ PCU 14 แห่ง + ทีมสาธารณสุขฝ่ายเวชศาสตร์ชุมชน ผู้ป่วยและผู้ป่วย MDR กินยาครบถ้วนถูกต้องสม่ำเสมอตามระบบ DOTS • การติดตามการเยี่ยมบ้าน • การกำกับการกินยา • การเพิ่มศักยภาพการดูแลตนเอง ผู้ป่วย / ญาติ
26 การมุ่งเน้นสร้างความตระหนัก และความสำคัญของการดูแลช่วยเหลือตนเอง ( Self Care / Self Help ) ของผู้ป่วยและญาติ 4. การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างทีมสาธารณสุขของ PCU 14 แห่ง กับผู้ป่วย / ญาติ / อสส. / แกนนำชุมชน การดูแลรักษาผู้ป่วยแบบบูรณาการครบองค์รวมอย่างต่อเนื่องตามมาตรฐาน
27 5. การได้รับการประสานสนับสนุนจากภาคีเครือข่ายพันธมิตร เช่น - สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค - สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร - สปสช. - ศูนย์บริการสาธารณสุข กทม. - GOS / NGOS ที่เกี่ยวข้องต่างๆ 6. ปัจจัยเกื้อหนุนอื่นๆ - แผนงานควบคุมวัณโรคแห่งชาติ ( NTP ) - คู่มืออบรมแนวทางมาตรฐานการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สำหรับคลินิกวัณโรค (Training Module) สำนักวัณโรค - Mutual Trust / Mutual Respect และ Mutual Benefit ระหว่างภาคีเครือข่ายเกี่ยวข้อง - ทีมประเมินผลงานควบคุมวัณโรคของ WHO และนพ.ยุทธชัย เกษตรเจริญ ที่ปรึกษาวัณโรคและผู้ประสานงาน
28 การผสมผสานงานเอดส์ และวัณโรคของ รพ.นวมินทร์( คลินิกเอดส์ / คลินิกวัณโรค / OPD / PCU 14 ) หน่วยงานตรวจพบผู้ติดเชื้อ HIV รายใหม่ และให้ Counseling หน่วยงานตรวจพบผู้ป่วย TB รายใหม่ หน่วยงานให้ Counseling เพื่อตรวจ HIV หน่วยงานให้ความรู้เรื่อง TB และ ตรวจคัดกรอง TB ส่งต่อรับยา ที่คลินิก HIV HIV + HIV + ตรวจพบป่วยเป็น TB ส่งต่อคลินิกวัณโรค รักษาต่อที่คลินิกวัณโรค รับยา TB จนครบถ้วน
29 สรุปปัญหาอุปสรรคและข้อจำกัดที่เป็นบทเรียนต่อการแก้ไขการควบคุมวัณโรค 1. ทีมงานรักษาผู้ป่วยยังขาดการประเมินปัญหาและผลกระทบที่แท้จริงของผู้ป่วยสภาพปัญหา และความเป็นอยู่ เพื่อนำไปใช้ประกอบ การติดตามการรักษา และแก้ไขปัญหาที่บ้านให้บูรณาการ ครบองค์รวม และต่อเนื่องตามมาตรฐานให้สอดคล้องกับบริบทของผู้ป่วยแต่ละราย 2. ขั้นตอนการรักษาที่ค่อนข้าง ยุ่งยาก ซับซ้อน ใช้เวลานาน ต้องการการติดตามเยี่ยม บ้านของทีมสาธารณสุข ของ PCU ใกล้บ้าน ผลเสีย ผู้ป่วยท้อแท้ เบื่อหน่าย ไม่อยากไปรักษา และกินยาอย่างต่อเนื่องครบถ้วนตามมาตรฐาน ต้องการการติดตามเยี่ยม บ้านของแกนนำชุมชนและ อสส. ของ ชุมชน ร่วมกับ Home-Carer ผลสำเร็จการรักษาตามมาตรฐาน
30 3. เทคนิคและศิลปการสื่อสารและสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ต้องใช้เวลาและประสบการณ์ เพื่อบริการที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน การติดตามเยี่ยมบ้านของทีมสาธารณสุขของ PCU และฝ่ายเวชศาสตร์สังคม ที่อบอุ่น เอาใจใส่ จริงใจ เมตตาการุณย์ เอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ต่อผู้ป่วย ญาติ อสส. แกนนำชุมชน