1 / 62

สายจิตร สกุลหนู พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ งานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน

สายจิตร สกุลหนู พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ งานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน. วัณโรค.

jess
Download Presentation

สายจิตร สกุลหนู พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ งานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สายจิตร สกุลหนูพยาบาลวิชาชีพชำนาญการงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน วัณโรค

  2. สธ.รณรงค์ให้คนไทยใส่หน้ากากอนามัยป้องกันโรคทางเดินหายใจ เผยสถานการณ์วัณโรคในไทยทรุดหนัก หลังพบแรงงานอพยพชาวพม่าในไทย ติดเชื้อวัณโรคชนิดดื้อยารุนแรง 2 ราย ที่ไม่มียารักษา ถูกกักตัวไว้ในค่ายผู้ลี้ภัยที่แม่สอด แล้ว 1 ราย ส่วนอีกรายยังหาตัวไม่เจอ • ขณะที่กองทุนวิจัยวัณโรคดื้อยาค้านเผยมีคนไทย 13 ราย เป็นวัณโรคชนิดรุนแรง ประสาน สธ.ตรวจยืนยันผล ด้าน สปสช.ทุ่ม 295 ล้าน ป้องกันรักษาผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า http://www.takchamber.com/

  3. สถานการณ์วัณโรคในประเทศไทยสถานการณ์วัณโรคในประเทศไทย (Posted on September 14th, 2009suwan2 comments ) • วัณโรคเป็นปัญหาระดับสากล โดยสถานการณ์วัณโรคของโลกปัจจุบันพบว่า มีผู้ป่วยประมาณ 16-20 ล้านคน  ร้อยละ 95 อาศัยอยู่ในประเทศที่กำลังพัฒนา  ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 องค์การอนามัยโลก ได้จัดอันดับประเทศที่มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรคมากที่สุดในโลก อันดับหนึ่ง ได้แก่ อินเดีย   อันดับสอง คือ จีน   อันดับสาม คืออินโดนีเซีย   สำหรับประเทศไทยความรุนแรงของวัณโรคเป็นอันดับที่ 18 ของโลก

  4. หนังสือพิมพ์บ้านเมือง -- จันทร์ที่ 31 พฤษภาคม 255309:49:45 น. • น.พ.มานิต ธีระตันติกานนท์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า สถานการณ์โรควัณโรคของไทยยังเป็นปัญหาและประเทศไทยติดอันดับที่ 18 ใน 22 ของกลุ่มประเทศที่มีปัญหาวัณโรครุนแรง องค์การอนามัยโลกประมาณการณ์ว่า • ไทยมีผู้ป่วยทั้งสิ้น 110,129 ราย • มีผู้ป่วยรายใหม่ปีละ 92,087 ราย • เสียชีวิตปีละ 12,890 ราย • ขณะที่อัตราความสำเร็จในการรักษามีเพียง 83%

  5. สถานการณ์วัณโรคอ.ยะหริ่ง(ข้อมูล ณ 1 มิ.ย.53)

  6. วัณโรค.....คืออะไร

  7. วัณโรค มิได้เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ แต่เป็นโรคที่สามารถติดต่อกันได้

  8. วัณโรคเป็นโรคติดต่อเกิดจากเชื้อแบคทีเรียชื่อมัยโคแบคทีเรียม ทูเบอร์คูโลซิส(Mycobacterium tuberculosis)

  9. Mycobacterium tuberculosis • เป็นเชื้อแบคทีเรียที่มีขนาดเล็กมาก ประมาณ 1 – 5 ไมครอน

  10. เชื้อมีผนังหนามาก สามารถทนทานต่อสิ่งแวดล้อมได้ • เจริญได้ดีในที่ซึ่งมี ph 6.0 – 7.6 • ที่อุณหภูมิ 37 องศา • มีระยะฟักตัว 4 – 5 สัปดาห์

  11. เชื้อวัณโรคจะถูกทำลายได้ในน้ำเดือด 2 นาที • เชื้อนี้ทนทานต่อความแห้งแล้ง มีชีวิตอยู่ได้ 4 ชั่วโมง – 5 วัน • ถ้าอยู่ในห้องมืด จะมีชีวิตอยู่ได้นานอย่างน้อย 40 วัน และอาจอยู่ได้นานถึง 6 เดือน • แสงอาทิตย์ทำลายเชื้อวัณโรคได้ภายใน 5 นาที

  12. วัณโรค สามารถเป็นได้กับอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย เช่นต่อมน้ำเหลือง ลำไส้ ตับ ม้าม เยื่อหุ้มสมอง

  13. แต่ที่พบบ่อย และเป็นปัญหามากในปัจจุบัน คือ วัณโรคปอด

  14. การติดต่อ • เชื้อวัณโรคติดต่อโดยการแพร่กระจายเชื้อจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่งผ่านทางอากาศ • โดยผู้ป่วยวัณโรคปอดเมื่อไอหรือจามแรงๆเชื้อจะปนเปื้อนมากับ ละอองเสมหะ

  15. เมื่อมีผู้สูดหายใจเอาเชื้อเข้าสู่ร่างกาย ละอองเสมหะขนาด 1-3 ไมโครเมตร จะเข้าสู่หลอดลมส่วนปลายจนถึงถุงลมเล็กๆในเนื้อปอด • เชื้อวัณโรคจะเจริญเติบโตและแบ่งจำนวนอย่างรวดเร็วจนทำให้เกิดเป็นแผลในเนื้อปอดและป่วยเป็นวัณโรค

  16. แหล่งแพร่เชื้อ.... • แหล่งแพร่เชื้อ คือ ผู้ป่วยวัณโรคระยะแพร่เชื้อ ซึ่งได้แก่ - ผู้ป่วยก่อนการรักษา - ผู้ป่วยที่ยังไม่รักษา - ผู้ป่วยที่กำลังรักษายังไม่ถึง 2 สัปดาห์

  17. การแพร่เชื้อ • พูด 1 นาที = 600 droplet nuclei • ไอ = 3,000 droplet nuclei • จาม = 40,000 droplet nuclei

  18. M. tuberculosis survived • 60-70%survived  3 hr • 48-56% survived  6 hr • 28-32% survived  9 hr

  19. อันตรายจากอนุภาคในอากาศอันตรายจากอนุภาคในอากาศ • ร่างกายมนุษย์มีกลไกป้องกันอนุภาค >10 ไมครอน • อนุภาคในอากาศ • 10 ไมครอน สามารถผ่านได้ถึง หลอดคอ • 1-5 ไมครอน สามารถผ่านได้ถึง หลอดลม

  20. เปรียบเทียบขนาด • เส้นผม 70 ไมครอน • ควัน < 1 ไมครอน • ไวรัส 0.12 ไมครอน

  21. ปัจจัยที่ทำให้เชื้อแพร่กระจายได้ง่ายปัจจัยที่ทำให้เชื้อแพร่กระจายได้ง่าย 1. เสมหะมีลักษณะเป็นของเหลว 2. เป็น Albumin

  22. Tuberculosis: Transmission and Natural History Self-Cure – 90% 30 % Infection Initial containment – 95% Early Progression - 5% (primary TB) Late Progression - 5% (reactivated TB)

  23. วัณโรคปอด.....มีอาการอย่างไรวัณโรคปอด.....มีอาการอย่างไร • ไอติดต่อกันเกิน 2 สัปดาห์ • ไอแห้งๆ หรือไอมีเสมหะ หรือไอมีเลือดปน • ไข้ต่ำๆตอนบ่าย หรือค่ำ • เจ็บหน้าอก • หายใจเหนื่อยหอบ • เบื่ออาหาร • น้ำหนักลด

  24. รู้ได้อย่างไรว่าเป็น.....วัณโรคปอดรู้ได้อย่างไรว่าเป็น.....วัณโรคปอด • ตรวจเสมหะ 3 ครั้ง • การเอกเรย์ปอด

  25. การรักษา • วัณโรค รักษาหายได้ • โดยการกินยาต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ใช้เวลาเพียง 6-8 เดือนเท่านั้น • ใช้ยาอย่างน้อย 4 ขนาน หากได้รับการรักษาไม่ถูกต้อง ขาดยา หรือกินยาไม่ต่อเนื่องจะทำให้เชื้อดื้อยา ทำให้ยากต่อการรักษา

  26. ยารักษาวัณโรค 1. Isoniazid = H 2. Rifampicin = R 3. Pyrazinamide = Z 4. Ethambuto) = E 5. Streptomycin = S

  27. WHO categories of treatment • CAT I  2HRZE(S) / 4HR • CAT II  2HRZES / 1HRZE / 5HRE • CAT III  2 HZE / 4 HR • CAT IV  Reserved drugs

  28. Latent TB Infection Organism Disease Cure Dead

  29. อาการข้างเคียงที่อาจพบได้จากการกินยารักษาวัณโรคอาการข้างเคียงที่อาจพบได้จากการกินยารักษาวัณโรค • คลื่นไส้ อาเจียน เวียนศีรษะ • ตับอักเสบ(ตัวเหลือง ตาเหลือง) • ปวดข้อ • เบื่ออาหาร เหนื่อยหอบ • ผื่นคันตามตัว

  30. ควรปฏิบัติตัวอย่างไรขณะ....ป่วยและรักษาควรปฏิบัติตัวอย่างไรขณะ....ป่วยและรักษา • ใช้ผ้าปิดปากและจมูก เวลาไอ จาม • กินยาตามแพทย์สั่ง ต่อเนื่อง สม่ำเสมอและมาตามนัด • กินอาหารได้ทุกชนิดที่มีประโยชน์และพักผ่อนให้เพียงพอ

  31. งดเหล้า บุหรี่ สิ่งเสพติด • ควรตรวจผู้สัมผัสร่วมบ้าน โดยเฉพาะเด็ก • บ้วนเสมหะลงภาชนะ เทลงในส้วม ฝังดิน หรือนำไปเผา • จัดที่พักให้อากาศถ่ายเทสะดวก แสงแดดส่องถึง

  32. MDR (Multidrug-Resistant TB) หมายถึง เชื้อวัณโรคที่ดื้อต่อยาที่ดีที่สุด (ซึ่งเป็นยาชนิดแรกที่เลือกใช้ในการรักษา) อย่างน้อยสองชนิดได้แก่ INH,Rifampicin ผู้ที่ติดเชื้อชนิดนี้จะรักษายากกว่าและต้องใช้เวลาในการรักษานานกว่า

  33. XDR TBExtensively drug resistant TB หมายถึง เชื้อวัณโรคที่ต่อยา isoniazid,rifampinและยังดื้อต่อยาที่ใช้เป็นทางเลือกที่สอง เช่น fluoroquinolone , amikacin, kanamycin, capreomycin มักจะพบในผู้ป่วยโรคเอดส์ที่ติดเชื้อวัณโรค

  34. ปัจจัยเสี่ยงต่อวัณโรคดื้อยาปัจจัยเสี่ยงต่อวัณโรคดื้อยา • 1. ผู้ป่วยที่เคยมีประวัติรักษาวัณโรคมาก่อน หรือรักษาไม่หาย • 2. ผู้ที่สัมผัสผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา • 3. ผู้ที่ติดเชื้อโรคเอดส์ • 4. ผู้ที่อยู่ในถิ่นที่มีการดื้อยาสูง

  35. Transmission : influenced factors Source case Bacillary load Symptoms Therapy Contact Closeness Duration Previous infection Immune status Environmental Volume of air Recirculation Filtration UV light

  36. การป้องกันการติดเชื้อและการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคการป้องกันการติดเชื้อและการแพร่กระจายเชื้อวัณโรค

  37. การป้องกันการติดเชื้อและการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคการป้องกันการติดเชื้อและการแพร่กระจายเชื้อวัณโรค 1. การป้องกันการติดเชื้อในสถานบริการ

  38. 2. การป้องกันการติดเชื้อในชุมชน

  39. Administrative Controls Environmental Controls Respiratory Protection การป้องกันการติดเชื้อในสถานบริการ

  40. Administrative Controls วัตถุประสงค์ เพื่อ 1.ป้องกันมิให้เกิดInfectious Droplet Nucleiในสิ่งแวดล้อม 2.ลดโอกาสสัมผัสเชื้อวัณโรคของบุคลากรและผู้ป่วย

  41. 1. มอบหมายงาน ( ผู้รับผิดชอบ บทบาท ) 2. ประเมินความเสี่ยงในหน่วยงาน 3. การฝึกอบรมบุคลากร 4. การคัดกรองผู้ป่วยที่สงสัยวัณโรคเพื่อแยกให้บริการ วินิจฉัยและรักษา

  42. 5. รักษาแบบผู้ป่วยนอก 6. ให้ความรู้ผู้ป่วยและญาติ 7. การเก็บเสมหะ 8. การแยกผู้ป่วยเมื่อจำเป็นต้องรับไว้ในโรงพยาบาล

  43. 9. มาตรการดูแลผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา 10. ลดความเสี่ยงในห้องปฏิบัติการ และพื้นที่อื่นๆ 11. การประเมินประสิทธิภาพของระบบ

  44. Environmental Controls วัตถุประสงค์ เพื่อลดความเข้มข้นของเชื้อวัณโรคในบรรยากาศ วิธีการ 1. การระบายอากาศ 1.1 ทิศทางของการระบายอากาศ 1.2 ปริมาณอากาศที่เพียงพอ

  45. 2. การกรองอากาศด้วยแผ่นกรอง เช่น HEPA FILTER 3. การฆ่าเชื้อวัณโรคด้วย UVGI

  46. หลัก 6 ประการในการควบคุมการติดเชื้อ • ป้องกันเชื้อเข้าหรือออกจากห้อง • กำจัดเชื้อออกจากอากาศ • เจือจางเชื้อในอากาศ • ควบคุมให้อากาศไหลจากที่สะอาดมากไปหาที่สะอาดน้อย • ป้องกันการเจริญเติบโตของเชื้อภายในห้อง • ฆ่าเชื้อในอากาศ

  47. Personal Respiratory Protection วัตถุประสงค์ เพื่อป้องกันมิให้บุคลากรการแพทย์สูดหายใจเชื้อวัณโรคเข้าไป *ถ้าไม่มีมาตรการด้านบริหารจัดการและควบคุมสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม ร่วมด้วย การใช้หน้ากากเพียงอย่างเดียวจะไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อวัณ โรคได้ *** ให้ผู้ป่วยเป็นผู้สวมหน้ากากจะดีที่สุด

More Related