110 likes | 201 Views
การสัมมนาเชิงวิชาการประจำปี 2556 คณะเศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์ 2 ปีนโยบายเศรษฐกิจยิ่งลักษณ์ : ความฝันกับความจริง. คณิศ แสงสุพรรณ. การลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน.. 2 ล้านล้านบาท (อ.ประชา คุณธรรมดี). ผลการศึกษา : เป็น สิ่งจำเป็นระดับหนึ่ง และควรดำเนินการภายใต้กรอบการศึกษาที่ ชัดเจน
E N D
การสัมมนาเชิงวิชาการประจำปี 2556 คณะเศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์2 ปีนโยบายเศรษฐกิจยิ่งลักษณ์:ความฝันกับความจริง คณิศ แสงสุพรรณ
การลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน.. 2 ล้านล้านบาท (อ.ประชา คุณธรรมดี) ผลการศึกษา: • เป็นสิ่งจำเป็นระดับหนึ่ง และควรดำเนินการภายใต้กรอบการศึกษาที่ชัดเจน • โครงการ..อาจไม่ได้ดำเนินการทั้งหมด เนื่องจาก...ยังไม่ได้ ทำการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ • รถไฟความเร็วสูงและรถไฟฟ้า ไม่ได้มีบทบาทในการลดต้นทุนโลจิสติกส์ของสินค้า และไม่ควรเป็นบริการสาธารณะที่รัฐต้องอุดหนุนราคาค่าโดยสาร ข้อเสนอแนะ: • รัฐจะต้องกำหนดเงื่อนไขบริการสาธารณะ Public Service Obligation • เปิดเผยข้อมูล..การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการขนาดใหญ่..เงื่อนไขที่ชัดเจน ..การบริหารเงินกู้ ..การถ่ายทอดเทคโนโลยี..การใช้วัสดุภายในประเทศภายในระยะเวลาที่กำหนด • รัฐไม่ควรละเลยโครงสร้างพื้นฐานของการพัฒนาด้านที่ไม่ใช่วัตถุ เช่น การศึกษา ความพร้อมด้านเทคโนโลยี นวัตกรรม และปัจจัยด้านสถาบัน ซึ่งเป็นปัญหาที่แท้จริงของประเทศไทย
การประเมินผลกระทบจากการปรับนโยบายค่าจ้างขั้นต่ำ 300 บาท (ดร.ศุภชัย ศรีสุชาติ) ผลการศึกษา: • การจ้างงานของแรงงานไม่ได้ลดลง • ภาพรวมของการกระจายตัวของรายได้ดีขึ้น • แรงงานในอุตสาหกรรมขนาดเล็กที่มีแรงงานตั้งแต่1-9 คน อาจจะมีการปรับตัวที่น้อย • แนวโน้มที่ลดลงลงของอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น • ไม่ระบุว่าระดับราคาสินค้ามีการปรับตัวสูงขึ้นมากอย่างที่มีการคาดการณ์ • การเคลื่อนย้ายการลงทุนไปยังประเทศอื่นอาจยังไม่มีผลที่ชัดเจนเนื่องจากประเทศเพื่อนบ้านต่างก็มีการปรับนโยบายค่าจ้างขั้นต่ำในช่วงเวลานี้เช่นกัน ข้อเสนอแนะ: • การกำหนดกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนเพื่อการกำหนดมาตรการบรรเทาผลกระทบที่ถูกต้องตามกลุ่ม • การสร้างผลิตภาพของแรงงาน..มีความจำเป็น...ต้อง..เป็นระบบ ควรมี..การจ่ายค่าจ้างตามความสามารถ • การดำเนินการของภาครัฐในอนาคตต้องมีการศึกษาผลกระทบรายกลุ่มและมีการเตรียมความพร้อมก่อนการดำเนินนโยบาย
ผลกระทบจากการปรับโครงสร้างภาษีของรัฐบาล (ดร.ภาวิน ศิริประภานุกูล) ผลการศึกษา: • รัฐบาลสูญเสียรายได้ 2556 – 2563 • ปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ราว 2.32 ล้านล้านบาท • ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 3.05 แสนล้านบาท • มูลค่าภาษีที่รัฐบาลสูญเสียไป • ไม่น่าจะสามารถเพิ่มความสามารถในการทำหน้าที่ลดความเหลื่อมล้ำทางด้านเศรษฐกิจให้กับระบบภาษีได้ เนื่องจากเป็นการปรับโครงสร้างที่ไม่ตรงจุด • ไม่น่าจะสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศได้ เนื่องจาก การปรับโครงสร้างภาษีไม่ใช่ปัจจัยสำคัญในการดึงดูดแรงงานทักษะสูงและเงินลงทุนจากบริษัทข้ามชาติในปัจจุบัน ข้อเสนอแนะ:
ความเปราะบางและความเสี่ยงทางการคลัง ภายใต้นโยบายการลงทุนของรัฐบาล (ศ.ดร. สกนธ์ วรัญญูวัฒนา) ผลการศึกษา: • รายจ่าย..จากนโยบายของรัฐบาลในอดีตถูกจัดสรรรวมเป็นรายจ่ายประจำของระบบงบประมาณที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นมาก • รัฐบาลยังได้มีนโยบายใหม่ที่ได้ผูกพันกลายเป็นภาระทางการคลังของประเทศในระยะสั้นเพิ่มเติม • ประมาณภาระความเสี่ยง..พบว่า • มาตรการการคลังต่างๆ ยังไม่เป็นปัญหาต่อสถานทางการคลังในระยะกลาง เมื่อพิจารณาจากขนาดหนี้สาธารณะต่อ GDP ที่ยังไม่เกินข้อจำกัดหรือช่องว่างทางการคลัง Space) ที่ยังมีเหลือเพียงพอ • แต่หากเกิดความผันผวนทางเศรษฐกิจ ศักยภาพการรองรับความเสี่ยง...อาจไม่สามารถทำได้ ข้อเสนอแนะ: งานศึกษาได้เสนอแนวทางการเตรียมรองรับปัญหาที่อาจเกิดขึ้น คือ • ความจำเป็นต้องมีการเพิ่มศักยภาพการหารายได้จากภาษีของรัฐบาล โดยการปฏิรูประบบภาษีให้เหมาะสมกับสถานการณ์เศรษฐกิจและสังคมของประเทศมากขึ้น • การพยายามที่ต้องจำกัดการขยายตัวการใช้จ่ายเชิงการเมืองที่ไม่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลให้น้อยลง
แนวความคิดเพื่อปรับทิศทางเศรษฐกิจ(กรอบการทำนโยบายกระทรวงการคลัง..ก่อนรัฐบาลยิ่งลักษณ์) ข้อจำกัดทางอุปทาน (Supply Constrain) ผลของการพัฒนาไม่เท่าเทียมกัน (Limited Trickle Down Effect) นโยบายตรงต่อประชาชน (Track 2 Policy/ People Policy) เอกชนนำ..แต่ต้องเป็นวาระแห่งชาติ 1 2 3 การฉ้อราษฎร์บังหลวง นักการเมือง/ข้าราชการ เอกชน/ประชาชน ระบบสังคม-การเมือง และการคานอำนาจ นโยบายกระทรวง และ หน่วยงานหลัก..รัฐและเอกชน นโยบายรัฐบาล การกำกับตรวจสอบขององค์กรหลัก..ภาคประชาชน..สื่อมวลชน
กรอบนโยบายปฏิรูปและสร้างความมั่นคงแก่เศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยกรอบนโยบายปฏิรูปและสร้างความมั่นคงแก่เศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย โดยพรรคเพื่อไทย เพื่อประชาชนคนไทย (2554-58) เศรษฐกิจมหภาคขยายตัวดี ยั่งยืน และ มีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย ปฏิรูปเศรษฐกิจจากฐานคนรากหญ้าและคนชั้นกลางให้ขยายตัวดีและยั่งยืนเพื่อกระจายรายได้ให้กับคนรากหญ้าและคนชั้นกลางอย่างเป็นธรรมทันที ภายใน 5 ปี สร้างความมั่นคงและเสถียรภาพด้านอาหารและพลังงานให้ประเทศไทย ราคามีเสถียรภาพ / การกระจายรายได้แก่ฐานคนรากหญ้าและชนชั้นกลางมีความเป็นธรรม สร้างระบบ การกระจายรายได้ ที่เป็นธรรม ยกระดับ ความสามารถในการแข่งขัน ของเศรษฐกิจไทย 3 พืชอุตสาหกรรมยางพารา ขยายพื้นที่และ 1 ล้านไร่ โรงงานแปรรูปขั้นต้นและอุตสาหกรมต่อเนื่องในท้องถิ่น 12 ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน กำแพงป้องกันน้าท่วม น้ำชุมชนเพื่อเกษตรหน้าแล้ง 1.5 ล้าน Mega Projects กระจายอำนาจและ จัดสรรงบประมาณรายจ่าย สู่ท้องถิ่น 25% 4 8 2 7 6 1 11 10 5 9 ลดภาระธุรกิจเอกชน ลดภาษีเงินได้ เหลือ 23% ในปีแรก และ 20% ปีถัดไป ส่งเสริมการท่องเที่ยว ต่างชาติเที่ยวไทย ไทยเที่ยวไทย 2 เท่าใน 4 ปี ผลิตพืชพลังงานโตเร็ว มันสำปะหลัง อ้อย ปาล์มน้ำมัน บัตรเครดิตเกษตรกร ข้าวเปลือกขาว 15000 ข้าวเปลือกหอมมะลิ 20,000 ความมั่นคงด้านพลังงาน บริหารราคาน้ำมันขายปลีก มาตรการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ กองทุนตั้งตัวได้ มหาวิทยาลัยละ 1000 ล้านบาท วิทยาลัยชุมชนเพื่อพัฒนาอาชีพ ลดค่าใช้จ่ายคนชั้นกลางเมื่อเริ่มชีวิตทำงาน บ้านหลังแรก-รถคันแรก หักค่าใช้จ่ายเพิ่มทักษะตัวเอง ค่าจ้างขั้นต่ำ 300 บาท/วัน ปริญญาตรี 15,000 บาท/เดือน การศึกษา-สาธารณะสุข One-tablet-one-child (OTOC) ต่อยอด 30 บาท (30บาท+)
จัดระบบเข้าสู่การพัฒนาแนวทางใหม่จัดระบบเข้าสู่การพัฒนาแนวทางใหม่ แผนยุทธศาสตร์ประเทศและการเข้าสู่ AEC 2/3 ความสามารถในการแข่งขัน AEC การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ในแนวทางใหม่ New Growth Model ปรับระบบ การทำงาน เป็นมิตร สิงแวดล้อม ภารกิจในปีที่ 2 ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง..โดยเน้นการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม..เข้าสู่แนวทางใหม่..New Growth Model เพื่อให้ประโยชน์ที่ประชาชนได้รับปีแรกเป็นไปอย่างอย่างถาวร และ เพิ่มแนวทางในจากการสร้างรายได้-ลดรายจ่าย-ขยายโอกาส อย่างเป็นระบบและยั่งยืน..ใน 4 ยุทธศาสตร์ การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การสร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคม การอยู่แบบเป็นมิตรกับธรรมชาติ การปรับระบบการทำงานของประเทศ โดยมี AEC เป็นเป้าหมายระยะสั้นที่จะเปลี่ยนผ่าน การลดความเหลื่อมล้ำ
4 ยุทธศาสตร์:นโยบายและมาตรการสำคัญ แนวทางการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์ประเทศและการเข้าสู่ AEC การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในแนวทางใหม่--New Growth Model 1 ลงทุนโครงข่ายคมนาคมเชื่อมโยงประเทศเพื่อนบ้าน-Connectivity ความสามารถในการแข่งขัน เพิ่มมูลค่าเพิ่มและนวัตกรรมให้กับ เกษตร-อุตสาหกรรม-บริการ: Productivity 2 3 5 การพัฒนาเศรษฐกิจตามความเหมาะสมของพื้นที่ทั่วประเทศ Mapping-ระบบน้ำ-Zoningเกษตร-อุตสาหกรรม-ท่องเที่ยวป่าไม้ คุณภาพการศึกษา / ฝีมือแรงงาน ตรงตามความต้องการของสาขาเศรษฐกิจ AEC 6 การพัฒนาเศรษฐกิจทีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ/การเงินการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 4 ปรับระบบ การทำงาน สร้างรายได้-ลดรายจ่าย-ขยายโอกาส ให้กับฐานรากเศรษฐกิจ: SMEs และเศรษฐกิจชุมชน ผ่าน การจำนำสินค้าเกษตร กองทุนตั้งตัวได้-กองทุนสตรี-OTOP-กองทุนหมู่บ้าน-SML เป็นมิตร สิงแวดล้อม 9 ประหยัดพลังงาน..ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ด้วยมาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม/การจัดซื้อภาครัฐ การลดความเหลื่อมล้ำ 7 10 ดูแลตั้งแต่ครรภ์จนสูงอายุ: ดูแลคนไทยทุกคนด้านบริการสาธารณสุข จัดการบริหาร ป่า และ น้ำ ปลูกป่าตามแนวพระราชดำริ..วางระบบนำแบบบูรณาการ 11 แก้ไขคอร์รับชั่น 8 บูรณาการการทำงานใน 3 ระดับ ระดับกระทรวง..แผนและโครงการเชื่อมโยง..ต่อเนื่อง..ถึงชุมชนและประชาชน ระดับกลุ่มจังหวัด..จังหวัดร่วมงานกันเป็นกลุ่มจังหวัด:แนวทาง-แผน-โครงการ ระดับจังหวัด..จังหวัดเป็นแกนกลางระดมความร่วมมือ อปท. ชุมชน ให้เกิดผลกับประชาชน การคุ้มครองและส่งเริมทางสังคม ยาเสพติด..ความปลอดภัยชีวิตและทรัพย์สิน.. ที่อยู่อาศัย..ที่ทำกิน 12
การดำเนินการ • การทำมาตรการประคองเศรษฐกิจในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ • การเพิ่มความสามารถในการแข่งขันกับการพัฒนาเมือง 2 ล้านล้าน + แนวทางการพัฒนาเมือง 3. การปรับเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน และ ศักยภาพการผลิต • Mapping เพื่อเกษตร และ สร้างทำเลธุรกรรมต่างๆ • Workshop กับผู้ประกอบการ อาหาร ท่องเที่ยว Medical Hub ยาและเครื่องสำอาง • Workshop ด้านประสิทธิภาพคน (การศึกษา+แรงงาน + อุตสาหกรรม + เอกชน) • Workshop ด้านสาธารณสุข 3 กองทุน