710 likes | 1.26k Views
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ และ การเลื่อนเงินเดือน. การบริหารผลการปฏิบัติราชการ กับ การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่. ทำอะไร. ทำอย่างไร. วิสัยทัศน์องค์กร. ยุทธศาสตร์. วัฒนธรรมองค์กร. สมรรถนะ ที่จะผลักดันให้ วิสัยทัศน์เป็นจริง. เป้าหมายระดับองค์กร. ค่านิยม ความเชื่อ.
E N D
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ และ การเลื่อนเงินเดือน กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานจังหวัดกาฬสินธุ์
การบริหารผลการปฏิบัติราชการกับ การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ทำอะไร ทำอย่างไร วิสัยทัศน์องค์กร ยุทธศาสตร์ วัฒนธรรมองค์กร สมรรถนะ ที่จะผลักดันให้ วิสัยทัศน์เป็นจริง เป้าหมายระดับองค์กร ค่านิยมความเชื่อ เป้าหมายระดับสำนัก/กอง ความรู้ความ สามารถในงาน เป้าหมายระดับบุคคล พฤติกรรมที่แสดงออก การบริหารผลการปฏิบัติราชการ 2
ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ 69 วางแผน (Plan) ติดตาม (Monitor) ให้รางวัล (Reward) ประเมิน (Appraise) พัฒนา (Develop)
การบริหารผลการปฏิบัติราชการการบริหารผลการปฏิบัติราชการ มาตรฐานและแนวทางการกำหนดความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง ว 27 / 2552 ว 7 / 2553 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ว 20 /2552 การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ ว 28/2552 การบริหาร ผลการปฏิบัติราชการ
หลักการ •มีความยืดหยุ่นในการเลือกวิธีการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการที่เหมาะกับลักษณะงาน และมีความคล่องตัวใน การนำผลการประเมินไปประกอบการพิจารณาเลื่อนเงินเดือน • มีความโปร่งใส เป็นธรรม สามารถตรวจสอบได้
เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ หมายถึงเป้าหมายผลการปฏิบัติงานที่สอดคล้องและเป็นเหตุแห่งความสำเร็จของเป้าหมายผลการปฏิบัติงานระดับองค์กร เป้าหมายในด้านอื่นๆ หมายถึงเป้าหมายผลการปฏิบัติงานในด้านอื่นๆ ซึ่งไม่ได้เป็นเหตุโดยตรงของเป้าหมายผลการปฏิบัติงานระดับองค์กร แต่มาจากภารกิจและบทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน และตำแหน่งที่รับผิดชอบ รวมทั้งงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ องค์ประกอบการประเมิน 2. พฤติกรรมการปฏิบัติราชการ (สมรรถนะที่คาดหวัง) 1.ผลสัมฤทธิ์ของงาน เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เป้าหมายอื่นๆ (สอดคล้องกับเป้าหมาย ระดับองค์กร) (สอดคล้องกับงานตามภารกิจ หรืองานที่ได้มอบหมายพิเศษ) 3. องค์ประกอบการประเมินอื่น ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัด- KPI ค่าเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัด- KPI ค่าเป้าหมาย 6
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ว 20/2552 สาระสำคัญ วัตถุประสงค์ และ หลักการ องค์ประกอบ สัดส่วนคะแนน การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ ระดับผลการประเมิน และ แบบประเมิน การประยุกต์ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการในส่วนภูมิภาค
วัตถุประสงค์ : พัฒนางาน พัฒนาคน เพื่อเป็นเครื่องมือของฝ่ายบริหารในการกำกับติดตามเพื่อให้ส่วนราชการและจังหวัดสามารถบรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และคุ้มค่า เพื่อให้ผู้บังคับบัญชานำผลการประเมินการปฏิบัติราชการไปใช้ประกอบการพิจารณาเลื่อนเงินเดือน และการให้เงินรางวัลประจำปีแก่ข้าราชการพลเรือนสามัญ ตามหลักการของระบบคุณธรรม
องค์ประกอบ : สัดส่วนคะแนน 9
การพิจารณาผลการปฏิบัติราชการของบุคคล จะพิจารณาจากอย่างน้อย (1)องค์ประกอบผลสัมฤทธิ์ของงาน และ (2) องค์ประกอบพฤติกรรม องค์ประกอบผลสัมฤทธิ์ของงาน ผลลัพธ์ หรือผลผลิต ที่ควรทำได้ (What) ประเมินด้วยตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายที่ตกลงไว้ ทำอย่างไรจึงทำให้เกิด ผลลัพธ์หรือผลงาน (What) ประเมินโดยอ้างอิงนิยามสมรรถนะที่สะท้อนพฤติกรรมที่มุ่งหวัง องค์ประกอบพฤติกรรม
ภาพรวมระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการภาพรวมระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ สรุป 70
การบูรณาการวิธีการกำหนดตัวชี้วัดต่างๆ เพื่อกำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล 1. ไม่ว่าจะใช้กำหนดตัวชี้วัดวิธีใด จะต้องคำนึงขอบเขตงานที่ผู้รับการประเมินรับผิดชอบหรือได้รับการมอบหมายเสมอ 2. พิจารณาจำนวนตัวชี้วัดที่เหมาะสม ครอบคลุมเนื่องาน/ความคาดหวังที่สำคัญ 3. ผู้ประเมิน(ผู้บังคับบัญชา)จะต้องรู้ถึงเป้าหมาย/ความคาดหวังจากผู้ปฏิบัติ 4. การกำหนดตัวชี้วัด จะต้องคำนึงถึงมิติที่ใช้ในการจำแนกผลการปฏิบัติงาน เพื่อที่จะนำมิตินั้นๆ มาใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน 5. คำนึงถึงความเป็นไปได้ในการเก็บข้อมูล และภาระในการเก็บข้อมูล
การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ มาตรฐานและแนวทางการกำหนดความรู้ ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ ว 27/2552 ลงวันที่ 29 กันยายน 2552 (ทั่วไป วิชาการ อำนวยการ) ว 7/2553 ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2553 (บริหาร)
กรอบการกำหนดค่าเป้าหมาย 5 ระดับ ค่าเป้าหมายในระดับท้าทาย มีความยากค่อนข้างมาก โอกาสสำเร็จ <50% ค่าเป้าหมายต่ำสุดที่รับได้ ค่าเป้าหมายในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่มีความยากปานกลาง ค่าเป้าหมายที่เป็นค่ามาตรฐานโดยทั่วไป ระดับที่ 1 : ค่าเป้าหมายระดับต่ำสุดที่ยอมรับได้ ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ หนึ่ง คะแนน ระดับที่ 2 : ค่าเป้าหมายระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ สอง คะแนน ระดับที่ 3 : ค่าเป้าหมายระดับมาตรฐาน ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ สาม คะแนน ระดับที่ 4 : ค่าเป้าหมายระดับยากปานกลาง ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ สี่ คะแนน ระดับที่ 5 : ค่าเป้าหมายระดับยากมาก ผู้ที่มีผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานในระดับนี้จะได้ ห้า คะแนน
การกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายการกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย การกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย อาจปรับเปลี่ยนได้ เมื่องานที่ได้รับมอบหมายเปลี่ยนแปลงไปจากต้นรอบการประเมิน ทั้งนี้ ผู้ประเมินและผู้รับการประเมิน ควรพิจารณาคัดกรองตัวชี้วัดเพื่อให้ได้จำนวนตัวชี้วัดที่เหมาะสม การสอบถามความคาดหวังของผู้รับบริการ การพิจารณาจากประเด็นที่ต้องปรับปรุง การไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน การประเมินสมรรถนะโดยผู้บังคับบัญชา การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงาน จากบนลงล่าง การประเมินสมรรถนะแบบ ๓๖๐ องศาฯลฯ คัดกรอง งานและการเปลี่ยนแปลง เกิดขึ้นได้ระหว่างรอบการประเมินฯ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของผู้รับการประเมิน ณ ต้นรอบการประเมิน ตัวชี้วัด และ เป้าหมายที่ใช้ในการประเมิน ณ การประเมิน 15
เกี่ยวกับการประเมินสมรรถนะเกี่ยวกับการประเมินสมรรถนะ ส่วนราชการสามารถเลือกวิธี และ มาตรวัดในการประเมินสมรรถนะได้ - วิธีการ : จะประเมินโดย (1) วิธีผู้ประเมินคนเดียว เช่น ประเมินโดยผู้บังคับบัญชา (2) วิธีให้ผู้รับการประเมินทำการประเมินตนเองก่อน และสรุปผลการประเมินร่วมกับผู้ประเมิน (3) วิธีประเมินหลายคน เช่น 360 องศา - มาตรวัด : จะใช้มาตรวัดแบบ (1) มาตรวัดแบบ Bar scale (2) มาตรวัดแบบ Rating scale (3) มาตรวัดแบบ Hybrid scale
สมรรถนะ • สมรรถนะหลัก • มุ่งผลสัมฤทธิ์ • บริการที่ดี • สั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ • การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม และจริยธรรม • การทำงานเป็นทีม การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ ให้พิจารณาจากสมรรถนะหลัก 5 ตัวของสำนักงาน ก.พ. และสมมรถนะอื่นๆ เพิ่มเติมตามที่ส่วนราชการกำหนด และสามารถกำหนดมาตรวัดในการประเมินได้ตนเอง 18
คำจำกัดความของสมรรถนะคำจำกัดความของสมรรถนะ คำจำกัดความ: ความมุ่งมั่นจะปฏิบัติราชการให้ดีหรือให้เกินมาตรฐานที่มีอยู่ โดยมาตรฐานนี้อาจเป็นผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมาของตนเอง หรือเกณฑ์วัดผลสัมฤทธิ์ที่ส่วนราชการกำหนดขึ้น อีกทั้งยังหมายรวมถึงการสร้างสรรค์พัฒนาผลงานหรือกระบวนการปฏิบัติงานตามเป้าหมายที่ยากและท้าทายชนิดที่อาจไม่เคยมีผู้ใดสามารถกระทำได้มาก่อน การมุ่งผลสัมฤทธิ์(Achievement Motivation-ACH) คำจำกัดความ: สมรรถนะนี้เน้นความตั้งใจและความพยายามของข้าราชการในการให้บริการเพื่อสนองความต้องการของประชาชนตลอดจนของหน่วยงานภาครัฐอื่นๆที่เกี่ยวข้อง บริการที่ดี(Service Mind-SERV) การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ(Expertise-EXP) คำจำกัดความ: ความขวนขวาย สนใจใฝ่รู้ เพื่อสั่งสม พัฒนา ศักยภาพ ความรู้ความสามารถของตนในการปฏิบัติราชการ ด้วยการศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งรู้จักพัฒนา ปรับปรุง ประยุกต์ใช้ความรู้เชิงวิชาการและเทคโนโลยีต่างๆ เข้ากับการปฏิบัติงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์ คำจำกัดความ: การครองตนและประพฤติปฏิบัติถูกต้องเหมาะสมทั้งตามหลักกฎหมายและคุณธรรมจริยธรรม ตลอดจนหลักแนวทางในวิชาชีพของตนโดยมุ่งประโยชน์ของประเทศชาติมากกว่าประโยชน์ส่วนตน ทั้งนี้เพื่อธำรงรักษาศักดิ์ศรีแห่งอาชีพข้าราชการ อีกทั้งเพื่อเป็นกำลังสำคัญในการสนับสนุนผลักดันให้ภารกิจหลักภาครัฐบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ จริยธรรม(Integrity-ING) ความร่วมแรงร่วมใจ(Teamwork-TW) คำจำกัดความ: สมรรถนะนี้เน้นที่ 1) ความตั้งใจที่จะทำงานร่วมกับผู้อื่น เป็นส่วนหนึ่งในทีมงาน หน่วยงาน หรือองค์กร โดยผู้ปฏิบัติมีฐานะเป็นสมาชิกในทีม มิใช่ในฐานะหัวหน้าทีม และ 2) ความสามารถในการสร้างและดำรงรักษาสัมพันธภาพกับสมาชิกในทีม
แบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการแบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ส่วนที่ ๑: ข้อมูลของผู้รับการประเมิน รอบการประเมิน รอบที่ ๑๑ ตุลาคม ถึง ๓๑ มีนาคม รอบที่ ๒ ๑ เมษายน ถึง ๓๐ กันยายน ชื่อผู้รับการประเมิน (นาย/นาง/นางสาว) ตำแหน่ง ประเภทตำแหน่ง ระดับตำแหน่ง สังกัด ชื่อผู้ประเมิน (นาย/นาง/นางสาว) ตำแหน่ง คำชี้แจง แบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการนี้มีด้วยกัน ๓ หน้า ประกอบด้วย ส่วนที่ ๑: ข้อมูลของผู้รับการประเมิน เพื่อระบุรายละเอียดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับตัวผู้รับการประเมิน ส่วนที่ ๒: สรุปผลการประเมิน ใช้เพื่อกรอกค่าคะแนนการประเมินในองค์ประกอบด้านผลสัมฤทธิ์ของงาน องค์ประกอบด้านพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ และน้ำหนักของทั้งสององค์ประกอบในแบบสรุปส่วนที่ ๒ นี้ ยังใช้สำหรับคำนวณคะแนนผลการปฏิบัติราชการรวมด้วย - สำหรับคะแนนองค์ประกอบด้านผลสัมฤทธิ์ของงาน ให้นำมาจากแบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน โดยให้แนบท้ายแบบสรุปฉบับนี้ - สำหรับคะแนนองค์ประกอบด้านพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ ให้นำมาจากแบบประเมินสมรรถนะ โดยให้แนบท้ายแบบสรุปฉบับนี้ ส่วนที่ ๓: แผนพัฒนาการปฏิบัติราชการรายบุคคล ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินร่วมกันจัดทำแผนพัฒนาผลการปฏิบัติราชการ ส่วนที่ ๔:การรับทราบผลการประเมิน ผู้รับการประเมินลงนามรับทราบผลการประเมิน ส่วนที่ ๕: ความเห็นของผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปกลั่นกรองผลการประเมิน แผนพัฒนาผลการปฏิบัติราชการ และให้ความเห็น คำว่า “ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป” สำหรับผู้ประเมินตามข้อ ๒ (๙) หมายถึง หัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดผู้บังคับบัญชาของผู้รับการประเมิน
ส่วนที่ ๒: การสรุปผลการประเมิน ๗๐% ๓๐% ระดับผลการประเมิน ดีเด่น ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง ส่วนที่ ๓: แผนพัฒนาการปฏิบัติราชการรายบุคคล
ส่วนที่ ๔: การรับทราบผลการประเมิน ส่วนที่ ๕: ความเห็นของผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป
แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานแบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน รอบการประเมิน รอบที่ 1 รอบที่ 2 ชื่อผู้รับการประเมิน (นาย/นาง/นางสาว) สมศักดิ์ สุขใจ ลงนาม ชื่อผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน (นาย/นาง/นางสาว) สมหวัง ดีเสมอ ลงนาม ตัวอย่าง
แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะแบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะ รอบการประเมิน รอบที่ 1 รอบที่ 2 ชื่อผู้รับการประเมิน (นาย/นาง/นางสาว) สมศักดิ์ สุขใจ ลงนาม ชื่อผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน (นาย/นาง/นางสาว) สมหวัง ดีเสมอ ลงนาม ตัวอย่าง
การประยุกต์ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการในส่วนภูมิภาคการประยุกต์ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการในส่วนภูมิภาค 1. ผู้ว่าราชการจังหวัดสามารถกำหนด/ปรับเปลี่ยนรูปแบบของระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการได้ ผู้ว่าราชการจังหวัดฯ กรม 1 กรม 2 หน.ส่วนราชการของหน่วยงานในภูมิภาค หน.ส่วนราชการของหน่วยงานในภูมิภาค หน่วยงานในส่วนกลาง ข้าราชการในระดับอำนวยการ หน่วยงานในส่วนกลาง ข้าราชการของกรมที่ปฏิบัติหน้าที่ในภูมิภาค ข้าราชการของกรมที่ปฏิบัติหน้าที่ในภูมิภาค ข้าราชการ ผวจ.มีอำนาจกำหนดรูปแบบการประเมิน
1. การกำหนด / ปรับเปลี่ยนรูปแบบของระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการของผู้ว่าราชการจังหวัด อาจทำได้ดังนี้ - ให้แต่ละหน่วยงานปฏิบัติตามแนวทางของกรมต้นสังกัด หรือ - กำหนดรูปแบบของระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการขึ้นเป็นการเฉพาะของจังหวัด การประยุกต์ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการในส่วนภูมิภาค(ต่อ)
การประยุกต์ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการในส่วนภูมิภาค(ต่อ)การประยุกต์ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการในส่วนภูมิภาค(ต่อ) 2. หัวหน้าส่วนราชการมีหน้าที่ประมวลตัวชี้วัดและเป้าหมายซึ่งถ่ายทอดมาจากส่วนราชการต้นสังกัด และจากผู้ว่าราชการจังหวัด กำหนดเป็นตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายของตนและกำหนดเป้าหมายของตน และกำหนดเป้าหมายการปฏิบัติราชการของผู้ใต้บังคับบัญชา กรม ผู้ว่าราชการจังหวัดฯ หน.ส่วนราชการของหน่วยงานในภูมิภาค หน่วยงานในส่วนกลาง ข้าราชการในระดับอำนวยการ ข้าราชการของกรมที่ปฏิบัติหน้าที่ในภูมิภาค ข้าราชการ
กลไกสนับสนุนความโปร่งใส เป็นธรรม : คณะกรรมการกลั่นกรอง หน้าที่ : พิจารณาเสนอความเห็นเกี่ยวกับมาตรฐานและความเป็นธรรมของ การประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญในสังกัด องค์ประกอบ : คณะกรรมการกลั่นกรองระดับกรม • รอง หน.สรก. ซึ่งทำหน้าที่ CHRO ประธาน • ขรก.ในส่วนราชการ ตามที่ หน.สรก.เห็นสมควร ไม่น้อยกว่า ๔ คน กรรมการ • หัวหน้าหน่วยงานที่รับผิดชอบงานการเจ้าหน้าที่ เลขานุการ คณะกรรมการระดับจังหวัด • รอง ผวจ. ซึ่งทำหน้าที่ CHRO ประธาน • ขรก.ในจังหวัด ตามที่ ผวจ.เห็นสมควร ไม่น้อยกว่า ๔ คน กรรมการ • หัวหน้าหน่วยงานที่รับผิดชอบงานการเจ้าหน้าที่ เลขานุการ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญ ตาม ว 20 ลว 3 ก.ย. 2553 ผู้มีหน้าที่ประเมิน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญ ตาม ว 20 ลว 3 ก.ย. 2553 (ต่อ) ผู้มีหน้าที่ประเมิน
หลักเกณฑ์และวิธีการเลื่อนเงินเดือน ตาม ว28/2552 สาระสำคัญ วงเงินงบประมาณสำหรับการเลื่อนเงินเดือน ผู้บริหารวงเงินงบประมาณ การเลื่อนเงินเดือนตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 การจ่ายค่าตอบแทนพิเศษกรณีรับเงินเดือนสูงสุดหรือใกล้สูงสุด
แผนดำเนินการ • แต่ละคนเลื่อนเงินเดือนไม่เกิน ร้อยละ 6 ของฐานในการคำนวณ ต่อ 1 รอบ • ห้ามหารเฉลี่ย (ทุกคนในส่วนราชการได้ร้อยละเท่ากันไม่ได้) • ผลการประเมิน ต้องปรับปรุง<ร้อยละ 60 ไม่ได้เลื่อนเงินเดือน” • เลื่อนเงินเดือนได้ไม่เกินเงินเดือนสูงสุดที่กำหนดแต่ละสายงาน • ประกาศร้อยละ/สั่งเลื่อนเงินเดือน ยกเว้น ผู้ที่เกษียณอายุ สั่งเลื่อน 30 ก.ย. /ผู้เสียชีวิต(ปฏิบัติงานครบ 4 เดือน) สั่งเลื่อนให้มีผลวันที่เสียชีวิต • แจ้งผลการเลื่อนเงินเดือนเฉพาะบุคคล/แจ้งเหตุผลผู้ที่ไม่ได้เลื่อนเงินเดือน ส่วนราชการ/จังหวัด : คำนวณวงเงิน 3% ของอัตราเงินเดือนข้าราชการ (นำวงเงินที่เหลือของรอบ 1 มี.ค. มาใช้ 1 ก.ย. ไม่ได้) ประกาศร้อยละ/ออกคำสั่ง/แจ้งผลเลื่อนเงินเดือน พิจารณาผลคะแนนกับ วงเงินงบประมาณ คำนวณวงเงินที่จะเลื่อน 31 มี.ค./30 ก.ย. 1 มี.ค./ 1 ก.ย. 1 เม.ย./1 ต.ค. การเจ้าหน้าที่เสนอหัวหน้าส่วนราชการ/ผู้ว่าราชการจังหวัด • ผู้บริหารวงเงิน • ฐานในการคำนวณ ผู้มีอำนาจสั่งเลื่อนเงินเดือน
วงเงินงบประมาณสำหรับการเลื่อนเงินเดือนวงเงินงบประมาณสำหรับการเลื่อนเงินเดือน แยกวงเงินเลื่อน บริหารส่วนกลาง กับ บริหารส่วนภูมิภาค แยกวงเงิน อย่างน้อย 3 กลุ่ม คำนวณวงเงินที่จะเลื่อน ส่วนราชการตัดยอดจำนวนคนและจำนวนเงิน ขรก. ในราชการบริหารส่วนภูมิภาคให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ส่วนราชการ • โดยเลื่อนเงินเดือนภายในกลุ่มก่อน หากเหลือสามารถเกลี่ยได้ • กลุ่มที่ 1 ประเภทบริหาร • กลุ่มที่ 2 ประเภทอำนวยการ • กลุ่มที่ 3 ประเภทวิชาการ และทั่วไป • ส่วนราชการ/จังหวัด: คำนวณวงเงิน 3% ของอัตราเงินเดือนข้าราชการ • ครั้งที่ 1 (เลื่อน ง/ด 1 เม.ย.) คำนวณ 3% ของเงินเดือนที่จ่าย ณวันที่ 1 มี.ค. • ครั้งที่ 2 (เลื่อนเงินเดือน 1 ต.ค.) คำนวณ 3% ของเงินเดือนที่จ่าย ณ วันที่ 1 ก.ย. • (นำวงเงินที่เหลือของรอบ 1 มี.ค. มาใช้ 1 ก.ย.ไม่ได้) ส่วนกลาง ภูมิภาค • บริหารต้น-สูง • อำนวยการต้น-สูง • วิชาการ • ทั่วไป • วิชาการ • ทั่วไป • ปฏิบัติการ • ชำนาญการ • ชำนาญการพิเศษ • ปฏิบัติการ • ชำนาญการ • ชำนาญการพิเศษ • เชี่ยวชาญ • ทรงคุณวุฒิ • ปฏิบัติงาน • ชำนาญงาน • อาวุโส • ปฏิบัติงาน • ชำนาญงาน • อาวุโส • ทักษะพิเศษ
ผู้บริหารวงเงินการเลื่อนเงินเดือนผู้บริหารวงเงินการเลื่อนเงินเดือน ปลัดกระทรวง นายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรี บริหารวงเงิน บริหารวงเงิน รองปลัด 1 รองปลัด 2 รองปลัด 3 .... เอกอัครราชทูต/อัครราชทูต/กงสุลใหญ่ ผู้ตรวจ กระทรวง ผู้ว่าฯ/รองผู้ว่าฯ ปลัด กระทรวง อธิบดี 1 อธิบดี 2 อธิบดี 3 ปลัดฯ+รองปลัดฯ+อธิบดี บริหารวงเงิน รองอธิบดี 1 กรมที่ 1 รองอธิบดี 2 กรมที่ 1 รองอธิบดี 3 กรมที่ 1 รองอธิบดี 4 กรมที่ 1 อธิบดี + รองอธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด บริหารวงเงิน บริหารวงเงิน รองอธิบดี 1 กรมที่ 2 รองอธิบดี 2 กรมที่ 2 รองอธิบดี 3 กรมที่ 2 รองอธิบดี 4 กรมที่ 2 • วิชาการ • -ทรงคุณวุฒิ • -เชี่ยวชาญ • -ชำนาญการพิเศษ • -ชำนาญการ • -ปฏิบัติการ • ทั่วไป • -ทักษะพิเศษ • -อาวุโส • -ชำนาญงาน • -ปฏิบัติงาน • อำนวยการต้น • อำนวยการสูง รองอธิบดี... รองอธิบดี... • วิชาการ • -ชำนาญการพิเศษ • -ชำนาญการ • -ปฏิบัติการ • ทั่วไป • -อาวุโส • -ชำนาญงาน • -ปฏิบัติงาน รองอธิบดี... รองอธิบดี... ผู้บริหารวงเงิน อาจจัดสรรวงเงินให้หัวหน้าส่วนราชการที่ต่ำกว่าระดับกรม หรือหัวหน้าหน่วยงานในราชการบริหารส่วนภูมิภาค
ตัวอย่างการคำนวณวงเงินที่จะใช้เลื่อน และการจัดสรร
ตัวอย่างการคำนวณวงเงินที่จะใช้เลื่อน และการจัดสรร (ต่อ) ไม่ได้จัดสรรวงเงินลงระดับอำเภอ
การเลื่อนเงินเดือนตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 พิจารณาผลคะแนนกับวงเงินงบประมาณ แต่ละคนเลื่อนเงินเดือนไม่เกินร้อยละ 6 ของฐานในการคำนวณ ต่อ 1 รอบ ห้ามหารเฉลี่ย (ทุกคนในส่วนราชการได้ร้อยละเท่ากันไม่ได้ ผลการประเมิน “ต้องปรับปรุง” ต่ำกว่าร้อยละ 60 “ไม่ได้เลื่อนเงินเดือน” เลื่อนเงินเดือนได้ไม่เกินเงินเดือนสูงสุดที่กำหนดแต่ละสายงาน รวมทั้งส่วนราชการ เลื่อนได้ไม่เกิน วงเงินการเลื่อนเงินเดือนที่ได้รับการจัดสรร
การเลื่อนเงินเดือนตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 (ต่อ) ฐานการคำนวณคืออะไร ตัวเลขที่นำไปใช้ในการคิดคำนวณเพื่อเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการแต่ละประเภท ตำแหน่ง สายงาน และระดับ ก.พ. กำหนด ท้าย ว28/2552 ตัวอย่าง การใช้ฐานในการคำนวณ
การจ่ายค่าตอบแทนพิเศษกรณีรับเงินเดือนสูงสุดหรือใกล้สูงสุดการจ่ายค่าตอบแทนพิเศษกรณีรับเงินเดือนสูงสุดหรือใกล้สูงสุด ผู้ได้รับเงินเดือนสูงสุด/ใกล้สูงสุด ให้ได้รับค่าตอบแทนพิเศษคิดตามผลการปฏิบัติงาน ตัวอย่าง 1 3 4 1 36,020 เพดานเงินเดือนของแต่ละระดับ ชำนาญการ - - 1 3 4 36,020 x = 2 ฐานฯ * 25,190 เงินเดือนก่อนเลื่อน % เลื่อน ผลคำนวณ เลื่อนเงินเดือน รับค่าตอบแทน 30,600 25,180 Midpoint 36,020 3 % 918 0 918 20,350 นาย ก. 5 3 4 35,560 3 % 918 460 458 12,530 นาย ข.
ตัวอย่างการกำหนดระดับผลการประเมินและร้อยละการเลื่อนตัวอย่างการกำหนดระดับผลการประเมินและร้อยละการเลื่อน สำนักที่ 1 สำนักที่ 2 สำนักที่ 3 จำนวน คะแนน % จำนวน คะแนน % จำนวน คะแนน % 1 96-100 5 2 90-100 4.8 14 90-100 3.2 ดีเด่น 2 91-95 4.5 16 80-89 4.2 22 80-89 3 ดีมาก 20 81-90 3.2 22 70-79 3 10 70-79 2.9 ดี 7 60-80 2.8 8 60-69 2.6 3 60-69 2.6 พอใช้ 0 น้อยกว่า60 0 น้อยกว่า60 0 น้อยกว่า60 ปรับปรุง 30 48 49
ตัวอย่างการกำหนดระดับผลการประเมินและร้อยละการเลื่อนตัวอย่างการกำหนดระดับผลการประเมินและร้อยละการเลื่อน สำนัก ก. สำนัก ข. จำนวน คะแนน % จำนวน คะแนน % 2 90-100 4.3-4.8 14 90-100 2.9-3.2 ดีเด่น 16 80-89 3.1-4.2 22 80-89 2.5-2.8 ดีมาก 22 70-79 2.6-3.0 10 70-79 2.1-2.4 ดี 8 60-69 2.2-2.5 3 60-69 1.8-2.0 พอใช้ 0 น้อยกว่า60 0 น้อยกว่า60 ปรับปรุง 48 49
การเลื่อนเงินเดือนตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 (ต่อ) ประกาศร้อยละการเลื่อน • คำนวณ % การเลื่อนภายในกรอบวงเงินการเลื่อนแล้วประกาศ % การเลื่อนในแต่ละระดับผลการประเมิน • แต่ละสำนัก/กอง ไม่เท่ากันก็ได้ • ประกาศอย่างช้าพร้อมกับการมีคำสั่งเลื่อนเงินเดือน ออกคำสั่ง • ออกคำสั่งเลื่อน • 1 เม.ย. • 1 ต.ค. ผู้มีอำนาจสั่งเลื่อนเงินเดือน • ส่วนกลาง = อธิบดี • ส่วนภูมิภาค = ผู้ว่าฯ ยกเว้น ผู้เกษียณอายุ สั่งเลื่อน 30 ก.ย. ผู้เสียชีวิต (ปฏิบัติงานครบ 4 เดือน) สั่งเลื่อนวันเสียชีวิต
การเลื่อนเงินเดือนตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 (ต่อ) การแจ้งผลการเลื่อน ตัวอย่าง นาย ก. ตำแหน่ง .................................ระดับ......... สำนักกอง.................................................. เงินเดือนก่อนเลื่อน................................... ฐานในการคำนวณ.................................... ร้อยละการเลื่อน........................................ จำนวนเงินที่ได้เลื่อน................................. เงินเดือนหลังเลื่อน.................................... • แจ้งเป็นข้อมูลเฉพาะแต่ละบุคคล • แจ้งเหตุผลผู้ที่ไม่ได้เลื่อน
การเลื่อนเงินเดือนตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนเงินเดือน พ.ศ. 2552 (ต่อ) • ยกเลิกการรอเลื่อนเงินเดือน : ผู้ถูกตั้งคณะกรรมการสอบวินัยร้ายแรงและผู้ถูกฟ้องคดีอาญา • หากถูกลงโทษ ต้องงดเลื่อนเงินเดือนในรอบการประเมินที่ถูกลงโทษ • ข้าราชการที่ถูกรอฯ ไว้ก่อนกฎ ก.พ.นี้ ให้เลื่อนตามผลงานที่ประเมินไว้ ลาศึกษา/ฝึกอบรม : จะต้องทำงานไม่น้อยกว่า 4 เดือน ผู้ไปปฏิบัติงานองค์การระหว่างประเทศ : เมื่อกลับมาปฏิบัติงานให้สั่งเลื่อนเงินเดือนในอัตราไม่เกินร้อยละ 3 ของเงินเดือนข้าราชการผู้นั้น เสียชีวิต : จะต้องทำงานไม่น้อยกว่า 4 เดือน และให้เลื่อนเงินเดือนได้ในวันเสียชีวิต เกษียณอายุราชการ : เลื่อนเงินเดือนในวันที่ 30 ก.ย. ไม่ถูกสั่งพักราชการเกิน 2 เดือน ไม่ลา/สาย เกินจำนวนครั้งที่กำหนด ไม่ขาดราชการโดยไม่มีเหตุอันควร ลาไม่เกิน 23 วันทำการ โดยไม่รวมลาอุปสมบท/คลอดบุตร/ป่วยจำเป็น/ป่วยประสบอันตราย/พักผ่อน/ตรวจเลือก/เตรียมพล/ทำงานองค์การระหว่างประเทศ
ตัวอย่าง การคำนวณเลื่อนเงินเดือน เงินเดือน ต่างฐานฯ/ผลประเมิน เท่า เงินเดือน ,ฐานฯ ต่างผลประเมิน เท่า เงินเดือน , ฐานฯ ,ผลประเมิน ต่าง
ฐานในการคำนวณและช่วงเงินเดือนฐานในการคำนวณและช่วงเงินเดือน