1 / 33

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง พลังงาน ( Energy )

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง พลังงาน ( Energy ). วิทยาศาสตร์ (ว 40216) ฟิสิกส์ ม.6. พลังงานนิวเคลียร์ ( nuclear energy ). 1. พลังงานนิวเคลียร์ ( nuclear energy ) 2. กัมมันตภาพรังสี ( radioactivity ). ผลการเรียนรู้. 1. อธิบายการเกิดกัมมันตภาพรังสี และการนำไปใช้ประโยชน์ด้านต่าง ๆ ได้

jethro
Download Presentation

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง พลังงาน ( Energy )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 4เรื่อง พลังงาน (Energy) วิทยาศาสตร์ (ว 40216) ฟิสิกส์ ม.6

  2. พลังงานนิวเคลียร์ (nuclear energy) • 1. พลังงานนิวเคลียร์ (nuclear energy) • 2. กัมมันตภาพรังสี (radioactivity)

  3. ผลการเรียนรู้ • 1. อธิบายการเกิดกัมมันตภาพรังสี และการนำไปใช้ประโยชน์ด้านต่าง ๆ ได้ • 2. อธิบายถึงผลกระทบของธาตุกัมมันตรังสีได้

  4. 2. กัมมันตภาพรังสี (radioactivity)

  5. 2. กัมมันตภาพรังสี (radioactivity) • 1. กัมมันตภาพรังสี • 2. กัมมันตภาพ • 3. เครื่องวัดกัมมันตภาพรังสี • 4. การใช้กัมมันตภาพรังสี • 5. หน่วยวัดกัมมันตภาพรังสี • 6. โทษของกัมมันตภาพรังสี • 7. การป้องกันกัมมันตภาพรังสี

  6. 1. กัมมันตภาพรังสี • ในปี ค.ศ. 1896 เบ็กเคอเรล (Henri Becquerel) ได้ทำการทดลองการเรืองแสงของสารต่าง ๆ • ได้พบว่าสารประกอบของยูเรเนียมสามารแผ่รังสีออกมาได้เองตลอดเวลาโดยไม่ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมเลย • จากการศึกษาเบื้องต้นของเบ็กเคอเรล เขาได้พบว่า รังสีนี้มีสมบัติบางประการคล้ายรังสีเอกซ์ เช่น สามารถทะลุผ่านวัตถุบางชนิดและทำให้อากาศแตกตัวเป็นไอออนได้ • ปีแอร์ คูรี (Pierre Curie) และมารี คูรี (Maric Curie) ได้ทำการทดลองกับธาตุอื่น ๆ อีกหลายชนิด และพบว่าธาตุบางชนิดมีการแผ่รังสีเช่นเดียวกับธาตุยูเรเนียม • ปรากฏการณ์ที่ธาตุแผ่รังสีได้เองอย่างต่อเนื่องนี้ เรียกว่า กัมมันตภาพรังสี (radioactivity) • ธาตุที่มีการแผ่รังสีได้เองเรียกว่า ธาตุกัมมันตรังสี (radioactive element) จากการศึกษารังสีที่แผ่ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสีทั่วไป

  7. สรุป • ธาตุกัมมันตรังสี (radioactive element) คือ ธาตุที่มีสมบัติในการแผ่รังสี • กัมภาพรังสี (radioactivity) คือ ปรากฎการณ์ที่ธาตุแผ่รังสีได้อย่างต่อเนื่อง

  8. Henri Becquerel • Henri Becquerel (พ.ศ. 2395-2451) นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศสได้รับรางวัลโนเบลทางฟิสิกส์ ในปีพ.ศ.2446 • จากผลงานการค้นพบกัมมันตรังสีในธรรมชาติพร้อมกับปิแอร์และ มารี คูรี • จากการค้นพบธาตุกัมมันตรังสีสองธาตุคือ เรเดียมและพอโลเนียม http://dbhs.wvusd.k12.ca.us/webdocs/Gallery/

  9. Pierre Curie and Marie Curie • Pierre Curie (พ.ศ. 2402-2449)นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส Marie Curie นักฟิสิกส์ชาวโปแลนด์ • สามี ภรรยาคู่นี้ทำงานทางด้านกัมมันตภาพรังสี และได้รับรางวัลโนเบลเช่นกัน • เป็นที่น่าสังเกตว่า มาดามคูรีเสียชีวิตด้วยโรคลูคีเมีย หรือ มะเร็งในโลหิต ซึ่งอาจเนื่องมาจากการได้รับรังสีจากธาตุกัมมันตภาพรังสีเกินควรก็ได้ http://www.sn.ac.th/web61_3/activity.htm

  10. การเคลื่อนที่ของรังสีต่าง ๆ ในสนามแม่เหล็กเดียวกัน • โดยให้รังสีดังกล่าวผ่านเข้าไปในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กทิศพุ่งเข้าและตั้งฉากกับกระดาษ พบว่า แนวการเคลื่อนที่ของรังสีแยกเป็น 3 แนว ดังรูป   • รังสีที่เบนน้อยและไปทางซ้ายของแนวเดิม เรียกว่า รังสีแอลฟา (alpha ray) • รังสีที่เบนมากและในทิศตรงข้ามกับรังสีแอลฟา เรียกว่า รังสีบีตา (beta ray) • รังสีที่พุ่งตรงไม่เบี่ยงเบนเลย เรียกว่า รังสีแกมมา (gamma ray) และ • นิยมเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ α , β และ Y ตามลำดับ http://www.sn.ac.th/web61_3/activity.htm

  11.  การเบนในสนามแม่เหล็ก การเบนในสนามแม่เหล็ก http://61.19.145.7/student/science401/chem/chem11/main1.html

  12. สรุปสมบัติของรังสี http://61.19.145.7/student/science401/chem/chem11/main1.html

  13. 2. กัมมันตภาพ • กัมมันตภาพรังสี (radioactivity) เป็นปรากฏการณ์การสลายตัวที่เกิดขึ้นเองของนิวเคลียสของอะตอมที่ไม่เสถียรตามปกติแล้วการที่ อะตอมสลายตัวมักมีการแผ่รังสีติดตามมาด้วย เช่น รังสีแอลฟา บีตา และแกมมา เป็นต้น • โดยทั่วไปมักเรียก สั้น ๆ ว่า "กัมมันตภาพ" หรือ "ความแรงรังสี" (activity) กัมมันตภาพ หรือความแรงรังสีนี้มีหน่วยวัดเป็นเบคเคอเรล (Becquerel) • 1 เบคเคอเรล เท่ากับ การสลายตัวของสารรังสี 1 อะตอมในหนึ่งวินาที ผู้ค้นพบปรากฏการณ์กัมมันตภาพรังสี คือ อองรี เบคเคอเรล ชาวฝรั่งเศส ซึ่งได้ค้นพบเมื่อ ปี พ.ศ. 2439 • กัมมันตรังสี (radioactive) เป็นคำคุณศัพท์เพื่อขยายคำนาม หมายถึง "เกี่ยวข้องกับการแผ่รังสี" • ตัวอย่างเช่น • สารกัมมันตรังสี (radioactive substance) หมายถึง วัสดุที่สามารถแผ่รังสีได้ด้วยตนเอง • กากกัมมันตรังสี (radioactive waste) หมายถึง ขยะหรือของเสียที่เจือปนด้วยสารกัมมันตรังสี เป็นต้น

  14. Radioactive Half-Life http://hyperphysics.phy-astr.gsu.edu/hbase/nuclear/halfli.html

  15. Half - Life http://sol.sci.uop.edu/~jfalward/physics17/chapter14/chapter14.html

  16. Half - Life http://www.btinternet.com/~j.doyle/SR/Emc2/Fission.htm

  17. 3. เครื่องวัดกัมมันตภาพรังสี เครื่องวัดกัมมันตภาพรังสีมีหลายชนิดที่น่าสนใจ คือ • 1. เครื่องนับไกเกอร์ (Gerger counter) • 2. เครื่องนับซินทิลเลชัน (scintillation counter) • 3. ฟิล์มแบดจ์ (film badge)

  18. The Geiger Counter http://sol.sci.uop.edu/~jfalward/physics17/chapter14/chapter14.html

  19. The Geiger Counter http://sol.sci.uop.edu/~jfalward/physics17/chapter14/chapter14.html

  20. scintillation counter http://www.tpub.com/content/doe/h1013v2/css/h1013v2_71.htm http://www.chm.bris.ac.uk/ms/theory/detection.html

  21. film badge http://www.personal.u-net.com/~landauer/loading.html

  22. 4. การใช้กัมมันตภาพรังสี • 1. การผลิตแผ่นโลหะแบบบาง • 2. การใช้กัมมันตภาพรังสีทางการแพทย์ • ใช้รังสีแกมมา รักษาโรคมะเร็ง • ใช้รังสีบีตา รักษาโรคมะเร็งในต่อมไทรอยด์ • ใช้กัมมันตภาพรังสีในการวินิจฉัยโรค • กล้องถ่ายรูปรังสีแกมมา • 3. กัมมันตภาพรังสีกับระเบิดนิวเคลียร์ • 4. กัมมันตภาพรังสีกับอุตสาหกรรม • 5. กัมมันตภาพรังสีกับการเกษตร • 6. การใช้กัมมันตภาพรังสีในการหาอายุของวัตถุโบราณ

  23. The Atomic Nucleus      http://sol.sci.uop.edu/~jfalward/physics17/chapter14/chapter14.html

  24. 5. หน่วยวัดกัมมันตภาพรังสี • มีหน่วยวัดกัมมันตภาพรังสีที่สำคัญ 2 แบบ คือ • 1. หน่วยวัดจำนวนนิวเคลียสที่สลายตัว ใช้หน่วยเป็น Becquerel (Bq) • 2. หน่วยวัดพลังงานที่กัมมันตภาพรังสีสูญเสียให้กับตัวกลาง (โดส :dose) มีหน่วยเป็น เกรย์ (Gray : Gy) , ซีเวอร์ต (sievert)

  25. หน่วยวัดกัมมันตภาพรังสีหน่วยวัดกัมมันตภาพรังสี • Dose equivalent (H) measures the biological effects of ionising radiations. It takes account of • the type of radiation • the energy carried by the radiation • how much tissue absorbs the energy • Dose equivalent is the product of absorbed dose and quality factor. The equation can be written asH = DQDose equivalent is measured in sieverts (Sv).

  26. Antoine Henri Becquerel (1852-1908)Otto Hahn, (1879-1968) http://www.accessexcellence.org/AE/AEC/CC/historical_background.html http://dr-albert-finck-ghs.nw.bildung-rp.de/hahnotto.html

  27. 6. โทษของกัมมันตภาพรังสี • ถ้าร่างกายได้รับจะทำให้โมเลกุลภายในเซลล์เกิดการเปลี่ยนแปลง ไม่สามารถทำงานตามปกติได้ • ถ้าเป็นเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดลักษณะก็จะเกิดการผ่าเหล่า เมื่อเข้าไปในร่างกายจะไปสะสมในกระดูก • แสงอนุภาคแอลฟาที่เปล่งออกมาจะไปทำลายเซลล์ที่ทำหน้าที่ผลิตเม็ดเลือดแดง ทำให้เกิดมะเร็งในเม็ดเลือดได้

  28. 6. โทษของกัมมันตภาพรังสี • ผลของรังสีต่อมนุษย์สามารถแยกได้เป็น 2 ประเภท คือ • ความป่วยไข้จากรังสี เนื่องจากเมื่ออวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายได้รับรังสี โมเลกุลของธาตุต่างๆ ที่ประกอบเป็นเซลล์จะแตกตัว ทำให้เกิดอาการป่วยไข้ได้ • ผลทางพันธุกรรมจากรังสี จะมีผลทำให้การสร้างเซลล์ใหม่ในร่างกายมนุษย์เกิดการกลายพันธุ์ โดยเฉพาะเซลล์สืบพันธุ์

  29. 7. การป้องกันกัมมันตภาพรังสี หลักในการป้องกันอันตรายจากรังสีมีดังนี้ • ใช้เวลาเข้าใกล้บริเวณที่มีกัมมันตภาพรังสีให้น้อยที่สุด • พยายามอยู่ให้ห่างจากกัมมันตภาพรังสีให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ • ใช้ตะกั่ว คอนกรีต น้ำ หรือพาราฟิน เป็นเครื่องกำบังบริเวณที่มีการแผ่รังสี

  30. http://www.btinternet.com/~j.doyle/SR/Emc2/Fission.htm

  31. References • พูนศักดิ์ อินทวี และจำนง ฉายเชิด. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ : ฟิสิกส์ ม.4-ม.6. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2547. 262 หน้า. • http://61.19.145.7/student/science401/chem/chem11/ • http://www.sn.ac.th/web61_3/activity1.htm

  32. Thank you Miss Lampoei Puangmalai Department of science St. Louis College Chachoengsao

  33. ประโยชน์ของพลังงานนิวเคลียร์ • ด้านเกษตรกรรม งานในด้านนี้ที่ประสบความสำเร็จมากคือ การวิจัยด้านการฉายรังสีอาหารโดยใช้รังสีแกมมาช่วยยืดอายุการเก็บของอาหารทั้งพืชผัก ผลไม้ และเนื้อสัตว์ต่างๆ ได้เป็นอย่างดี โดยจะช่วยยับยั้งการงอกของพืชผัก ชะลอการสุกของผลไม้และช่วยทำลายแมลง พยาธิ หรือจุลินทรีย์ ในอาหารและผลิตผลทางการเกษตร ซึ่งอำนวยประโยชน์ให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ถูกอนามัยปราศจากเชื้อโรคและพยาธิ ช่วยการถนอมอาหารและเก็บรักษาอาหารและพืชผลไว้บริโภคในช่วงฤดูกาลที่ขาดแคลนลดการนำเข้าจากต่างประเทศและเพิ่มรายได้ของประเทศโดยส่งเสริมการส่งออกของอาหารและผลิตผลการเกษตรจากการฉายรังสี • นอกจากนี้ยังนำพลังงานนิวเคลียร์มาใช้ในงานอื่นอีก เช่น ใช้วิเคราะห์ดินเพื่อการจำแนกพื้นที่เพาะปลูกหรือการใช้เทคนิคทางรังสีเพื่อศึกษาการดูดซึมแร่ธาตุและปุ๋ยโดยต้นไม้และพืชเศรษฐกิจต่างๆ ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น หรือการนำเทคนิคดังกล่าวมาปรับปรุงพันธ์พืช และสัตว์ เป็นต้น • ด้านการแพทย์ ปัจจุบันมีการนำเทคนิคด้านนิวเคลียร์มาใช้ในทางการแพทย์หลายด้าน เช่น ด้านการตรวจและวินิจฉัย โดยการใช้เทคนิค Radioimmunoassay (RIA) สำหรับตรวจวัดสารที่มีประมาณน้อยในร่างกาย หรือเทคนิคฉีดสารกัมมันตรังสีเข้าร่างกาย เพื่อหาตำแหน่งของอวัยวะที่เสียหน้าที่ และปัจจุบันสามารถตรวจดูรูปร่างและการทำงานของอวัยวะด้วยเครื่องมือที่เรียกว่า เครื่องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ ซึ่งทันสมัยที่สุด ในด้านการบำบัดรักษาโดยเฉพาะโรคมะเร็งได้มีการใช้สารกัมมันตรังสีร่วมกับการใช้ยาหรือสารเคมีและการผ่าตัด นอกจากนี้ยังมีการใช้รังสีในการทำให้ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ปลอดเชื้อ หรือใช้รังสีในการเตรียมวัคซีนและแอนติเจนโดยยังคุณสมบัติของวัคซีนเอาไว้ และใช้รังสีหยุดยั้งการเจริญเติบโตของเม็ดเลือดขาวในผลิตภัณฑ์เลือด เพื่อทำให้ผู้ป่วยมีความปลอดภัยในการรับและถ่ายเลือด เป็นต้น • ด้านอุตสาหกรรม ปัจจัยหลักที่จะทำให้อุตสาหกรรมก้าวหน้าไปได้ในสภาวะเศรษฐกิจของโลก ในขณะนี้ คือ การเพิ่มผลผลิต การควบคุมคุณภาพ และการลดต้นทุนการผลิต เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวในปัจจุบันไทยได้นำเทคโนโลยีนิวเคลียร์มาใช้ในการประกอบอุตสาหกรรมต่างๆ มากขึ้น เช่น การผลิตเส้นใยสังเคราะห์สำหรับทอผ้า การผลิตปูนซีเมนต์ ไม้อัดแผ่นเรียบ กระเบื้อง กระดาษ ผลิตภัณฑ์แก้ว เหล็ก หรือโลหะอุตสาหกรรมปิโตรเลียม และปิโตรเคมี การผลิตยางรถยนต์ การผลิตน้ำอัดลม การเปลี่ยนสีอัญมณี การควบคุมคุณภาพในการก่อสร้างถนน เป็นต้น โดยการใช้เทคนิคที่สำคัญคือ การตรวจสอบโดยไม่ทำลาย หรือการใช้รังสีเป็นสารติดตามและใช้เป็นระบบควบคุมในโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น • ด้านการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ เช่น การวิเคราะห์ธาตุปริมาณน้อยและสารพิษในสิ่งแวดล้อม การศึกษาอายุของวัตถุโบราณ ศึกษาวัฏจักรหรือวงชีวิตของพืชและสัตว์บางชนิด การศึกษาการเคลื่อนที่ของน้ำใต้ดินและน้ำผิวดิน ศึกษาแหล่งพลังงานความร้อนใต้พิภพ ศึกษาการสะสมการเคลื่อนที่ของตะกอนในเขื่อน แม่น้ำ ลำคลอง และแหล่งน้ำต่างๆ นอกจากนี้ยังมีการใช้รังสีเพื่อการกำจัดน้ำเสีย การผลิตปุ๋ยธรรมชาติ การพัฒนาที่ดินทางการเกษตร กิจกรรมทางป่าไม้และอุทกวิทยา เป็นต้น

More Related