1.2k likes | 1.71k Views
เขียนโครงการอย่างไรให้ได้งบประมาณ. โดย สุนันทา สมพงษ์ ผู้อำนวยการภารกิจโครงการและประสานงานวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.). บรรยาย 16 มีค 2552 ที่มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพ. วิสัยทัศน์. “ วช. เป็นสมองของประเทศ ”. NRCT is brain of the country.
E N D
เขียนโครงการอย่างไรให้ได้งบประมาณเขียนโครงการอย่างไรให้ได้งบประมาณ โดย สุนันทา สมพงษ์ ผู้อำนวยการภารกิจโครงการและประสานงานวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) บรรยาย 16มีค 2552 ที่มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพ
วิสัยทัศน์ “ วช. เป็นสมองของประเทศ ” NRCT is brain of the country
บทบาท วช.กับหน่วยงานต่างๆ • จัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ • การติดตามและประเมินผลของประเทศ (จัดลำดับความสำคัญงานวิจัยที่หน่วยงานต่างๆ เสนอของบแผ่นดิน) • ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย • ให้บริการข้อมูลงานวิจัยต่างๆ โดยศูนย์สารสนเทศการวิจัยหรือ Website 3
การวิจัย:เศรษฐกิจสังคมฐานความรู้การวิจัย:เศรษฐกิจสังคมฐานความรู้ การวิจัยเชิงปัญญา การสร้างองค์ความรู้ การจัดการ ความรู้ การพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ การสร้างฐานความรู้ การสร้างองค์ความรู้สู่ผู้อื่น การจัดการความรู้สู่ผู้อื่น การนำไปใช้ประโยชน์ การวิจัยเพื่อสร้างธุรกิจและอุตสาหกรรม การวิจัยสร้างทุนด้านศักยภาพ
แนวทางการสนับสนุน • งานวิจัยพื้นฐานที่มีศักยภาพที่จะนำไปต่อยอดในอุตสาหกรรมหรือชุมชน • งานวิจัยประยุกต์ • งานวิจัยและพัฒนาต่อยอด • งานวิจัยท้องถิ่น
R&D ยกระดับอุตสาหกรรมไทย Know-how R & D การผลิต การตลาด เทคโนโลยี ผู้นำด้านต้นทุน & ผู้นำด้านความแตกต่างของสินค้า ที่มา : Suvit Maesincee, 11th Anniversary of Department of Industry Economics
แผนผัง ขั้นตอนการให้ทุนของ วช. วช. ประกาศข้อกำหนดของการวิจัย(TOR) รับข้อเสนอการวิจัย แจ้งนักวิจัยแก้ไขเพิ่มเติม วช. ตรวจสอบข้อเสนอการวิจัยเบื้องต้น (Pre qualification) วช. ดำเนินการโดยพิจารณาตามแนวทางการพิจารณาผู้ทรงคุณวุฒิในคณะผู้ตรวจสอบทางวิชาการของ วช. โดยพิจารณาจากคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติและผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางตามความเหมาะสมเพื่อติดตามและประเมินผลตามขั้นตอนต่อไป (10-20 วัน) (7 วัน) ปรับแก้ ถูกต้องครบถ้วน ( 40 วัน) 7
นักวิจัยปรับปรุงข้อเสนอโครงการนักวิจัยปรับปรุงข้อเสนอโครงการ คณะทำงานส่งเสริมฯ พิจารณาสนับสนุนการวิจัย วช. คัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิและแต่งตั้งเป็นคณะ ผู้ตรวจสอบฯ เพื่อติดตามและประเมินผลตามขั้นตอน คณะผู้ตรวจสอบฯ พิจารณา/พัฒนาข้อเสนอโครงการและจัดลำดับความสำคัญ นำเสนอต่อคณะทำงานกลั่นกรองงบประมาณค่าใช้จ่ายพิจารณาความเหมาะสมของงบประมาณค่าใช้จ่าย วช. ยุติการพิจารณา แจ้ง กบห./คณะทำงานส่งเสริมฯ เพื่อทราบ อนุมัติทุนแก่นักวิจัยและทำสัญญารับทุน แจ้งนักวิจัยทราบ ดำเนินการติดตามและประเมินผลโครงการวิจัย คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติสาขาวิชาการดำเนินการสรรหาและพิจารณา/พัฒนาโครงการพร้อมเสนอรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเหมาะสมให้ วช. ปรับแก้ ให้ปรับแก้ ผ่านการพิจารณา (15 วัน) ไม่ผ่าน ผ่านการพิจารณา (10 วัน) (15-20 วัน)
จรรยาบรรณนักวิจัย นักวิจัยที่ขอรับทุนต้องปฏิบัติตามจรรยาบรรณนักวิจัย ซึ่งสามารถดูรายละเอียดจาก www.nrct.net
ขั้นตอนการให้ทุน 1. ประกาศ TOR 2. รับข้อเสนอการวิจัย 3. พิจารณาข้อเสนอการวิจัย 4. แจ้งผลการพิจารณาและอนุมัติทุน
ขั้นตอน การพิจารณาให้ทุน
นักวิจัยผู้ บริหารโครงการ สร้างโครงการวิจัยดีมีคุณภาพ นำไปใช้ประโยชน์ได้ องค์ประกอบ การบริหารงานวิจัย ผู้กรงคุณวุฒิ ควบคุมและติดตาม ประเมินผลโครงการ หน่วยให้ทุน ควบคุมกำกับโครงการวิจัยให้มี คุณภาพเสร็จทันเวลานำไปใช้ ประโยชน์ได้
การบริหารงานวิจัย การบริหารจัดการ ปลายทาง การบริหารจัดการ ต้นทาง การบริหารจัดการ กลางทาง การพัฒนา -โจทย์วิจัย -ข้อเสนอโครงการ การติดตามประเมินผลและปรับแก้โครงการ -การนำผลงานไปใช้ประโยชน์ -การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ -การจดสิทธิบัตร
การควบคุมคุณภาพผลงานวิจัยการควบคุมคุณภาพผลงานวิจัย กระบวนการบริหารงบประมาณเพื่อการวิจัยที่มีคุณภาพ การคัดเลือกโครงการวิจัยที่มีคุณภาพเพื่อทำวิจัย การติดตามตรวจสอบการดำเนินงานและส่งเสริมให้งานวิจัยบรรลุผลที่ดี
การควบคุมคุณภาพผลงานวิจัยการควบคุมคุณภาพผลงานวิจัย การกำหนดแผน / นโยบายการวิจัย กระบวนการวิจัย มีดัชนีชี้วัดชัดเจน สามารถนำไปพัฒนาสู่เชิงพาณิชย์
การบริหารจัดการโครงการการบริหารจัดการโครงการ • คณะทำงานส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย • คณะทำงานพิจารณากลั่นกรองงบประมาณ • 3. คณะผู้ตรวจสอบทางวิชาการ • 4. คณะนักวิจัย • 5. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการวิจัย
คุณสมบัติของผู้ทรงคุณวุฒิคุณสมบัติของผู้ทรงคุณวุฒิ 1.3 1.1 1.2 เป็นนักวิจัย/นักวิชาการในหน่วยงานวิจัยที่มีหน้าที่ทำวิจัยหรือเป็นผู้บริหารหน่วยงานวิจัย และมีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ หรือเป็นคณะทำงานกรรมการ/อนุกรรมการสาขาวิชาการที่เกี่ยวข้อง มีวุฒิการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย และมีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในประเด็นการวิจัยในเรื่องนั้นๆ มีผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ หรือผลงานจากการบริหาร/การปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง 17
คุณสมบัติของผู้ทรงคุณวุฒิคุณสมบัติของผู้ทรงคุณวุฒิ 1.4 1.5 1.6 กรณีที่มีตำแหน่งทางวิชาการ จะต้องมีตำแหน่งทางวิชาการที่สูงกว่าหรือเทียบเท่านักวิจัย ยกเว้นกรณีมีผู้ทรงคุณวุฒิในด้านนั้นจำกัด อาจพิจารณาจากความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ ผลงานตามที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น กรณีผู้ทรงคุณวุฒิอยู่ในภาคเอกชน คุณวุฒิอาจน้อยกว่านักวิจัยได้ โดยพิจารณาจากความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์สูง และผลงานในเรื่องนั้นๆ กรณีที่เป็นข้าราชการบำนาญ จะต้องมีตำแหน่งไม่ต่ำกว่าระดับ 8 และมีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์และผลงานที่เกี่ยวข้อง ตามที่กล่าวมาข้างต้น 18
คุณสมบัติของผู้ทรงคุณวุฒิคุณสมบัติของผู้ทรงคุณวุฒิ 1.7 1.8 (ต่อ) มีความเป็นกลาง โดย 1.7.1 ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียในการดำเนินงานวิจัย 1.7.2 ไม่เป็นผู้บังคับบัญชา หรือผู้ใต้บังคับบัญชาของนักวิจัย 1.7.3 ไม่ควรอยู่หน่วยงานเดียวกับนักวิจัย ยกเว้นกรณีที่มีผู้ทรงคุณวุฒิด้านนั้นจำกัด สามารถอุทิศเวลาปฏิบัติงานตรวจสอบทางวิชาการได้อย่างสม่ำเสมอและให้ข้อคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะทางวิชาการในการตรวจรับผลสำเร็จของโครงการทุกขั้นตอน 19
การพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสภาพ สำหรับโรคหลอดเลือดสมอง เป็นองค์ความรู้ที่มีอยู่แล้ว ไม่มีทฤษฎีใหม่ ไม่จำเป็นต้องศึกษาอีก ขาดการให้ความสำคัญ Local wisdom และ Social Capital ที่สมบูรณ์ 3. กระบวนการที่ได้คือ กระบวนการปกติที่ใช้อยู่ในกระบวนการทาง Clinic (Peer Group Review) ไม่จำเป็นต้องทำวิจัยซ้ำ 4. ทำเรื่องใหญ่แต่งบน้อยเกินไป ไม่แน่ใจเรื่องความครบถ้วนและ approach ผิด 5. การสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ไม่ชัดเจน
การพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการฟื้นฟูสภาพ สำหรับโรคหลอดเลือดสมอง 6. ชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดความสำเร็จ การ review ไม่ชัดเจน 7. ขาด measurement ในชื่อ เป็นเรื่องคุณภาพการดูแลรักษาหรือคุณภาพผลการรักษาหรือคุณภาพชีวิต 8. ต้องให้คำจำกัดความที่วัดได้ของ “คุณภาพในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเลือดสมอง 9. ต้องกำหนด inclusion / exclusion criteria จำนวนผู้ป่วยที่ศึกษา 10. ต้องมีรายละเอียด การพัฒนาศักยภาพพนักงานโรงพยาบาล และการดูแลในครอบครัวว่า ใครทำ เนื้อหาอะไร นานเท่าไณ ที่ทำอยู่ในขณะนี้บกพร่องตรงไหน การมีโครงการวิจัยนี้จะแก้ไขข้อบกพร่องอย่างไร
การพัฒนาคุณภาพชีวิตทางกายและจิตใจในเด็กพิการและเด็กกลุ่มเสี่ยงต่อพัฒนา การล่าช้า • 1. ไม่มีประโยชน์ • 2. เป็นการศึกษาที่มีคนทำมากแล้ว • 3. เป็นการคัดกรองโดยใช้เครื่องมือเฉพาะ แต่วิธีคัดกรองแบบนี้ไม่น่าจะเป็นวิธีการที่นำมาใช้ได้ในระบบคัดกรองของไทย เพราะมีความซับซ้อน • 4. การคัดกรองด้วยวิธีนี้ต้องใช้เครื่องมีอเฉพาะและจำเป็นต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญ โอกาสที่จะนำไปใช้โดยระบบสาธารณสุขโดยทั่วไปทำได้ยาก ความยั่งยืนของงานจะไม่เกิดขึ้น
การพัฒนาคุณภาพชีวิตทางกายและจิตใจในเด็กพิการและเด็กกลุ่มเสี่ยงต่อพัฒนา การล่าช้า • 5. การใช้ screening test approach เพื่อคัดเด็กกลุ่มเสี่ยงต่อการพัฒนาการที่ล่าช้าจะมีปัญหาเรื่องความเป็นไปได้ในการนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงกว้างต่ำ ทางออกที่ควรจะเป็นคือ Universal Precaution โดยคิดว่าเด็กไทยทุกคนมรความเสี่ยง แล้วใช้ Intervention Programme เลย
แผนงานวิจัยรูปแบบการจัดสวัสดิการเพื่อการสร้างเสริมศักยภาพผู้สูงอายุแผนงานวิจัยรูปแบบการจัดสวัสดิการเพื่อการสร้างเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ • 1. ระเบียบวิจัยไม่ชัดเจน • 2. เป็นองค์ความรู้ที่มีอยู่แล้ว ไม่มีประโยชน์ • 3. ความสอดคล้องของโครงการย่อยไม่เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกันเป็นเพียงโครงการที่รวมมาอยู่ในแผนงานเดียว เหมือนเป็นการมัดแผนหรือประสานแผน เป็นคนละจังหวัด คนละประชากรเป้าหมาย ควรอธิบายว่าแต่ละโครงการย่อย “เสริม” ความรู้/รูปแบบในโครงการรวมอย่างไร • 4. บางโครงการความชัดเจน ความสำคัญของปัญหายังไม่แจ่มชัด (โครงการย่อยที่ 3)
แผนงานวิจัยรูปแบบการจัดสวัสดิการเพื่อการสร้างเสริมศักยภาพผู้สูงอายุแผนงานวิจัยรูปแบบการจัดสวัสดิการเพื่อการสร้างเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ • 5. ความสำเร็จที่เกิดขึ้นไม่แน่ว่าจะนำไปใช้ในบริบทที่แตกต่างกันได้หรือไม่ • 6. ปัญหาที่ผู้วิจัยต้องศึกษา คือ ปัญหาจริงหรือไม่ ส่งผลกระทบอย่างไร ยังไม่มีความชัดเจนเพียงพอที่จะลงทุนจำนวนมหาศาลเพื่อหาคำตอบ • 7. ควรมีการศึกษาข้อมูลเบื้องต้นด้วยวิธีการอื่นก่อน และใช้งบประมาณน้อยกว่านี้ • 8. เคยมีผู้ขอทุนเพื่อทำวิจัย เรื่องการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุ เช่นกัน แต่คนละกลุ่มตัวอย่าง น่าจะใช้เป็นบรรทัดฐานเริ่มต้น จะถือว่าเป็นเพียงการเปลี่ยนกลุ่มตัวอย่างหรือไม่
1 2 3 4 5 การพิจารณาข้อเสนอโครงการในภาพรวม มีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน สามารถวัดหรือประเมินผลได้ สามารถปฎิบัติให้บรรลุผลได้ สมเหตุ สมผล มีความเป็นไปได้สูง มีกรอบเวลาที่ชัดเจนและเหมาะสม
การพิจารณาข้อเสนอการวิจัยการพิจารณาข้อเสนอการวิจัย • วช. จะพิจารณาข้อเสนอการวิจัยตามแนวทางที่ วช. กำหนด โดยผู้ทรงคุณวุฒิในคณะผู้ตรวจสอบทางวิชาการของ วช. และคำตัดสินของ วช. ถือเป็นที่สิ้นสุด • หากข้อเสนอการวิจัยสามารถบูรณาการทางวิชาการร่วมกันได้ วช. ขอสงวนสิทธิ์ในการบูรณาการข้อเสนอการวิจัยดังกล่าวเป็นชุดโครงการ / แผนงานวิจัยเดียวกัน 27
เกณฑ์การพิจารณาข้อเสนอการวิจัยเกณฑ์การพิจารณาข้อเสนอการวิจัย 1. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ 2. คุณค่าทางปัญญา 2.1 ปัจจัยการวิจัย (input) 1)ความสำคัญ จำเป็นเร่งด่วนของเรื่อง 2) ความชัดเจนเป็นรูปธรรม 3) ศักยภาพการเป็นศูนย์กลางสูง 4) ภาคเอกชน/ประชาชนมีส่วนร่วม
5 ) คณะผู้บริหารและผู้วิจัยมีความพร้อมเหมาะสม 6 ) สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ 7 ) กรอบแนวคิด การตรวจเอกสารอ้างอิง 8 ) ความชัดเจนของแผนการดำเนินงาน 9 ) ความพร้อมของสถานที่ + อุปกรณ์ 10 ) ความเหมาะสมของงบประมาณ
2.2 กระบวนการวิจัย ( Process ) 1) ความเชื่อมโยงกรอบแนวคิดสู่การปฏิบัติอย่างชัดเจน เป็นไปได้สูง 2) เชื่อมโยงขั้นตอนทำวิจัยอย่างสมบูรณ์ ถูกต้อง สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลัก 3) มีแผนการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ชัดเจน
2.3 ผลผลิตการวิจัย (Output) 1) ความชัดเจนของผลที่คาดว่าจะได้รับ 2) สร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม 3) ความชัดเจนของการนำไปใช้ประโยชน์ กลุ่มเป้าหมาย วิธีการถ่ายทอด 4) จำนวนนักวิจัยรุ่นใหม่ที่จะเกิดขึ้น
3. ผลกระทบ (Impact) 1) ผลลัพธ์ (Outcome) ส่งผลกระทบสูงต่อสังคม ชาติ และนานาชาติ 2) สร้างความเชื่อมโยงจากท้องถิ่นสู่ประเทศและนานาชาติ 3) ผลกระทบในด้านอื่นๆ เช่น ความมั่นคง การแข่งขันกับนานาชาติ คุณภาพชีวิตของสังคม
4. มีดัชนีชี้วัดที่สามารถวัดได้ ต้องสามารถวัดได้และมีวิธีวัดที่ไม่ยุ่งยากมาก มีโอกาสในการวัดผลสำเร็จได้สูง ผลผลิตและตัวชี้วัดชัดเจน 4 มิติได้แก่ ปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลา เศรษฐกิจ
การเขียนข้อเสนอตามแบบฟอร์ม แบบฟอร์มตามที่แหล่งทุนกำหนดและตามประเภทของงบประมาณ เช่น • ของบประมาณปกติ ใช้แบบฟอร์ม วช-1ช วช-1ด • ขอจากงบของ วช. ใช้แบบฟอร์ม ภค-1ช ภค-1ด สามารถสืบค้นได้จากwww.nrct.net
จุดอ่อนและปัญหาที่พบ ในการพิจารณาและประเมินโครงการ
1.ชื่อเรื่อง การประเมินแต่ละองค์ประกอบ - ตรงประเด็นปัญหาการวิจัย -ครอบคลุมประเด็น -ชัดเจน กะทัดรัด บอกทิศทางการวิจัย - สอดคล้องกับประเด็นสำคัญที่ต้องการศึกษา
1.ชื่อเรื่อง การประเมินแต่ละองค์ประกอบ - ชื่อเรื่องเป็นสื่อบอกการศึกษาวิจัย - ต้องไม่ซ้ำซ้อนกับผู้อื่น แม้ประเด็นจะคล้ายหรือแตกต่าง - ภาษาชัดเจน เข้าใจง่าย เป็นศัพท์ที่ยอมรับ
ที่มาของโจทย์วิจัย - ยุทธศาสตร์การวิจัยแห่งชาติ -ประเด็นการวิจัยเร่งด่วนและทิศทางของประเทศ - นโยบายของรัฐบาล ความต้องการของสังคมและประเทศ - กรอบการวิจัยของหน่วยงานที่ให้ทุน - นโยบายและทิศทางของหน่วยงานต้นสังกัด
ที่มาของโจทย์วิจัย - ผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้รู้/ผู้บริหาร - ประสบการณ์/ประเด็นการวิจัยในการทำงาน พื้นความรู้เดิม - ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยจากรายงานวิจัยใหม่ๆ - การหาหัวข้อวิจัย (กลุ่มวิจัย)
ความสำคัญของประเด็นการวิจัยความสำคัญของประเด็นการวิจัย • สภาพปัญหาของสิ่งที่กำลังจะวิจัย • ผลเสียหรือผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นหากไม่แก้ไข • แผนความคิดเกี่ยวกับวิธีการเพื่อแก้ปัญหานั้นผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
ความสำคัญของปัญหาการวิจัยความสำคัญของปัญหาการวิจัย • ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหาวิจัยที่ผ่านมา • ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการทำวิจัยเพื่อหาคำตอบหรือแนวทางแก้ไข • เขียนจากขอบเขตที่กว้างหรือใหญ่แล้วค่อยเล็กลงมา
จุดอ่อนที่พบ • ไม่ชัดเจน คลุมเครือไม่สามารถชี้ให้เห็นความสำคัญของประเด็นการวิจัย • เนื้อหาขาดความสัมพันธ์ต่อเนื่อง • ยาวเกินไป/สั้นเกินไป ขาดข้อมูลสนับสนุน • ไม่สอดคล้องกับประเด็นสำคัญที่ต้องการศึกษา
ปัญหา ของการวิจัย พยายามตอบคำถามต่อไปนี้ให้ได้ • อะไรคืออุปสรรค • กลุ่มเป้าหมายที่ถูกกระทบคือใคร อยู่ที่ไหน • พื้นที่ถูกกระทบอยู่ที่ไหน จำนวนที่ถูกกระทบมากน้อยเท่าใด
ปัญหา ของการวิจัย พยายามตอบคำถามต่อไปนี้ให้ได้ • ผลวิจัย ผลสรุปของผู้อื่นมีอะไรบ้าง • ความพยายามที่จะแก้ปัญหามีอะไรบ้าง ประสบความสำเร็จมากน้อยเพียงใด • อะไรคือประเด็นที่ยังไม่ได้แก้ไข
วัตถุประสงค์ของการวิจัยวัตถุประสงค์ของการวิจัย - สอดคล้องกับชื่อเรื่อง - มีความชัดเจนว่าจะศึกษาปัญหาอะไร - ครอบคลุมทุกปัญหาการวิจัย - นำไปสู่การออกแบบการวิจัย - เชื่อมโยงกับความสำคัญของปัญหาและขอบเขตในการวิจัย
ขอบเขตการวิจัย • กำหนดขอบเขตการวิจัยเฉพาะที่ศึกษา • ระบุตัวแปร • กำหนดระยะเวลา • ขอบเขตพื้นที่ สถานที่รวบรวมข้อมูล • คุณลักษณะของตัวแปรที่ศึกษา • ข้อจำกัดของการวิจัย
5. สมมติฐานการวิจัย • ต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ • มีกรอบแนวคิดชัดเจน รัดกุม ไม่คลุมเครือ • ต้องอธิบายหรือตอบคำถามได้หมด • ตอบประเด็นการวิจัยเดียว • สอดคล้องกับความจริงที่ยอมรับโดยทั่วไป
5. สมมติฐานการวิจัย (ต่อ) • สมเหตุผลตามทฤษฎีและความรู้ในศาสตร์วิชานั้น • สามารถตรวจสอบได้ มีข้อมูลหลักฐานที่นำมาพิสูจน์ได้ • ใช้ภาษา ถ้อยคำที่เข้าใจง่าย ชัดเจน • คาดคะเนเพื่อตอบโจทย์ประเด็นการวิจัยการวิจัย
6. ระเบียบวิธีวิจัย เลือกวิธีวิจัยที่เหมาะสม อธิบายขั้นตอนการวิจัยได้ชัดเจน มีขั้นตอนการวิจัยครบสำหรับแต่ละวัตถุประสงค์ ประชากรครอบคลุมทุกกลุ่มที่จะให้ข้อมูลการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสม (ขนาดเป็นตัวแทน)
6. ระเบียบวิธีวิจัย (ต่อ) • คุณภาพของเครื่องมือ • การรวบรวมข้อมูล (ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม) • ความเหมาะสมของเครื่องมือที่ใช้ • การวิเคราะห์ข้อมูล (เลือกสถิติเหมาะสมสามารถตอบวัตถุประสงค์การวิจัย)