210 likes | 370 Views
สรุปการติดตามงานปี ๒๕๕๕ และจุดเน้นปี ๒๕๕๖ การป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์. พญ.เพชรศรี ศิรินิรันดร์ วันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๕ จังหวัดนครนายก. หน่วยงานในกรมควบคุมโรค ที่มีภารกิจเกี่ยวข้องกับ การป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์. สำนักโรคเอดส์ฯ (สอวพ.)
E N D
สรุปการติดตามงานปี ๒๕๕๕ และจุดเน้นปี ๒๕๕๖การป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ พญ.เพชรศรี ศิรินิรันดร์ วันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๕ จังหวัดนครนายก
หน่วยงานในกรมควบคุมโรค ที่มีภารกิจเกี่ยวข้องกับ การป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ • สำนักโรคเอดส์ฯ (สอวพ.) • ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ (ศบ.จอ.) • สำนักวัณโรค • สำนักระบาดวิทยา • สถาบันบำราศนราดูร • สำนักงานบริหารโครงการกองทุนโลก • สำนักเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ • สำนักงานป้องกันควบคุมโรค
การติดตามจากการเบิกจ่ายงบประมาณการติดตามจากการเบิกจ่ายงบประมาณ
ยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙
สถานการณ์ปัญหาเอดส์ • อัตราความชุกการติดเชื้อฯ กลุ่มเยาวชน (อายุ ๑๕-๒๔ ปี) ๐.๔% (ปี ๕๔) พฤติกรรมเสี่ยงมากขึ้น การใช้ถุงยางอนามัย <๕๐% • ระดับการติดเชื้อฯในกลุ่มหญิงรับบริการฝากครรภ์อายุมากกว่า ๓๐ ปี สูงลอยมากกว่ากลุ่มอายุอื่น • อัตราความชุกการติดเชื้อฯ ในกลุ่มพนักงานบริการหญิงในสถานบริการ ๑.๘% (ปี ๕๔) พนักงานบริการชาย (๑๗.๗% ปี ๕๓) • อัตราความชุกการติดเชื้อฯ ในกลุ่มผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด ๒๑.๙ % (ปี ๕๓) • อัตราความชุกการติดเชื้อฯในกลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย ๒๐% (ปี ๕๓)
การคาดประมาณจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ จำแนกตามช่องทางการรับและถ่ายทอดเชื้อฯ ประเทศไทย พ.ศ. 2555 – 2559 โดยใช้ Asian Epidemic Model
สถานการณ์ การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ • ความครอบคลุมการรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯเพิ่มขึ้นเป็นลำดับ (๗๒% ปี ๕๓, ๗๗% ปี ๕๔) แต่เข้าสู่ระบบการรักษาล่าช้า • ความครอบคลุมการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อฯจากแม่สู่ลูก ๙๔% ปี ๕๔ • ความครอบคลุมการป้องกันในกลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย พนักงานบริการ ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด และประชากรข้ามชาติ ยังจำกัด และใช้งบประมาณจากกองทุนโลกฯเป็นหลัก
ยุทธศาสตร์ฯเอดส์ชาติ พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙ • วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายไม่มีผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ • เป้าหมาย พ.ศ.๒๕๕๙ • จำนวน ผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลง ๒ ใน ๓ จากที่คาดประมาณ • อัตราการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด น้อยกว่า ร้อยละ ๒ • วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายไม่มีการตายเนื่องจากเอดส์ • เป้าหมาย พ.ศ.๒๕๕๙ • ผู้ติดเชื้อฯ ทุกคนในแผ่นดินไทย เข้าถึงการดูแลรักษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน • จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิต ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ • จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิตเนื่องจาก วัณโรค ลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ • วิสัยทัศน์สู่เป้าหมายไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ • เป้าหมาย พ.ศ.๒๕๕๙ • กฎหมายและนโยบาย ที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการป้องกันดูแลรักษาและบริการรัฐ ได้รับการแก้ไข • การทำงานเอดส์ทุกด้านมีประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับการเคารพสิทธิมนุษยชน และสนองตอบต่อความจำเพาะกับเพศสภาวะ • จำนวนการถูกเลือกปฏิบัติหรือการละเมิดสิทธิของ ผู้ติดเชื้อฯและกลุ่มประชากรเป้าหมายหลัก ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐
จำนวนผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลง ๒ ใน ๓ จากที่คาดประมาณ • อัตราติดเชื้อเมื่อแรกเกิดน้อยกว่าร้อยละ๑ • นวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง • ผู้ติดเชื้อฯทุกคนในแผ่นดินไทยเข้าถึงการดูแลรักษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน • ผู้ติดเชื้อฯและครอบครัวที่ได้รับผลกระทบได้รับการคุ้มครองทางสังคมและเข้าถึงการดูแลช่วยเหลือที่มีคุณภาพ • จำนวนผู้ติดเชื้อฯเสียชีวิตเนื่องจากวัณโรคลดลงมากกว่าร้อยละ ๕๐ ข. ผสมผสานและทำให้มาตรการและแผนงานปัจจุบันมีคุณภาพเข้มข้น และยั่งยืน • กฎหมายและนโยบายที่เป็นอุปสรรคต่อประสิทธิผลของการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ได้รับการแก้ไข • จำนวนเหตุการณ์ความรุนแรงที่เกี่ยวเนื่องจากเพศภาวะลดลง • จำนวนการถูกเลือกปฏิบัติหรือการละเมิดสิทธิลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐
นวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลงนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง ข. ผสมผสานและทำให้มาตรการและแผนงานปัจจุบันมีคุณภาพและเข้มข้น มากขึ้น แนวคิดหลักของยุทธศาสตร์
นวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง: ยุทธ ๑ - ๔ ยุทธ ๑ ยุทธ ๒ ยุทธ ๓ นำเอาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์รุ่นใหม่มาใช้กำหนดแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ในทุกระดับ ยุทธ ๔ ยกระดับคุณภาพของมาตรการและแผนงานที่มีอยู่เดิม ให้เข้มข้นและบูรณาการ ยุทธ ๕
ยุทธศาสตร์ 5ยกระดับคุณภาพ ของมาตรการและแผนงานที่มีอยู่เดิมให้เข้มข้นและบูรณาการ • การป้องกันการติดเชื้อฯ เมื่อแรกเกิด • การป้องกันในกลุ่มเยาวชน • การส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัยแบบบูรณาการ • การบริการโลหิตปลอดภัย • การรักษา การดูแล และการให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ติดเชื้อฯ • การดูแลเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์และเด็กที่มีภาวะเปราะบาง • การลดการตีตราและการเลือกปฏิบัติ • การสื่อสารสาธารณะ
กรอบการติดตามประเมินผลและตัวชี้วัดหลักเพื่อติดตามความก้าวหน้าของยุทธศาสตร์เอดส์ชาติ
จุดเน้น ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖
สู่เป้าหมายการไม่มีผู้ติดเชื้อฯรายใหม่สู่เป้าหมายการไม่มีผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ • การป้องกันฯ • กลุ่มพนักงานบริการ (female sex worker) ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย ผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีด • กลุ่มเยาวชนที่มีภาวะเสี่ยงสูง • คู่ที่มีผลเลือดต่าง • การสร้างการเป็นเจ้าของร่วมของจังหวัดและท้องถิ่น • การทำงานร่วมกันของภาครัฐ ภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจ บริการเชิงรุกที่มีคุณภาพและครอบคลุม • National guideline และ SOP • การประเมินคุณภาพ • การประมาณการจำนวนประชากรกลุ่มเป้าหมาย กลไกการประสานงานระดับประเทศและจังหวัด • การพัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์และติดตามประเมินผล Biomedical interventions
สู่เป้าหมายการไม่มีผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่สู่เป้าหมายการไม่มีผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ มุ่งเป้าหมายในกลุ่มประชากรและพื้นที่ที่มีจำนวนผู้ติดเชื้อฯรายใหม่มากที่สุด 31 จังหวัดที่คาดว่าจะมีจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ประมาณร้อยละ 65 ของจำนวนคาดประมาณผู้ติดเชื้อรายใหม่ทั้งหมด ช่องทางการรับและถ่ายทอดเชื้อฯ 6% 41% 32% 10% 11% 62% ของจำนวนผู้ติดเชิ้อฯรายใหม่ 41%
พื้นที่ดำเนินการ • พื้นที่สาธิตปฏิบัติการ 5 จังหวัด • พื้นที่เร่งรัด 31 จังหวัด • การประเมินการป้องกันฯกลุ่มพนักงานบริการ ชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย ผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด ในปี ๒๕๕๕ • พื้นที่อื่น
สู่เป้าหมายการไม่มีผู้เสียชีวิตจากเอดส์สู่เป้าหมายการไม่มีผู้เสียชีวิตจากเอดส์
ระดับภูมิคุ้มกัน (CD4Level) ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยติดเชื้อรายใหม่ และผู้เริ่มรับยาต้านฯ ตามปีงบประมาณ ปี >350 cells/mm3 <100 cells/mm3 100-200 cells/mm3 100-200 cells/mm3 แหล่งข้อมูล: ระบบฐานข้อมูล NAP สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
สู่เป้าหมายการไม่มีผู้เสียชีวิตจากเอดส์สู่เป้าหมายการไม่มีผู้เสียชีวิตจากเอดส์ • การส่งเสริมการรู้สถานภาพการติดเชื้อเอชไอวีและเข้าสู่การดูแลรักษาเร็วขึ้น • การจัดการการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีและวัณโรค • การพัฒนาระบบและคุณภาพบริการให้การปรึกษา • การผลักดันนโยบายในประเทศและระหว่างประเทศ (AEC) • การประเมินและพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา
สู่เป้าหมายการไม่ตีตราและเลือกปฏิบัติสู่เป้าหมายการไม่ตีตราและเลือกปฏิบัติ • ทบทวนนโยบาย กฎระเบียบ • สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการรับและถ่ายทอดเชื้อฯ • สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องความหลากหลายทางเพศ และสิทธิมนุษยชน • พัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลการไม่เลือกปฎิบัติ