280 likes | 403 Views
เส้นทางสู่แชมป์โลก หุ่นยนต์เตะฟุตบอลรุ่นขนาดเล็ก 3 สมัย. ทีม SKUBA. ความเป็นมา.
E N D
เส้นทางสู่แชมป์โลกหุ่นยนต์เตะฟุตบอลรุ่นขนาดเล็ก 3 สมัย ทีม SKUBA
ความเป็นมา ทีม SKUBAเป็นทีมที่เกิดจากการรวมตัวของนิสิตหลายภาควิชา หลายชั้นปี โดยมีเป้าหมายเดียวกัน เพื่อนำองค์ความรู้ที่ได้ศึกษามา นำมาประยุกต์ใช้ เพื่อพัฒนาต่อยอดต่อไป ผลลัพธ์ที่ได้จากการแข่งขันฟุตบอลหุ่นยนต์ชิงแชมป์โลก หรือ World RoboCup Soccer ซึ่งทีมของประเทศไทยมีโอกาสเข้าร่วมและสามารถคว้าแชมป์โลกมาได้แล้ว 3ครั้ง
วัตถุประสงค์ เพื่อให้นิสิตได้สร้างองค์ความรู้และถ่ายทอดสู่รุ่นถัดไป เพื่อต่อยอดความสำเร็จต่อไป เพื่อเสริมสร้างแนวทางปฏิบัติที่ดีให้ได้เห็นเป็นประจักษ์ ในสถาบันการศึกษา เสริมสร้างนิสิตให้มีคุณสมบัติ 3e+3i ของวิสัยทัศน์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รักษาตำแหน่งแชมป์โลก หุ่นยนต์เตะฟุตบอลให้ได้นานที่สุด เพื่อเผยแพร่ชื่อเสียงของประเทศไทย ให้เป็นที่จดจำในเวทีสากล
วิธีปฏิบัติที่ดี • วิธีการปฏิบัติที่ดี มีองค์ประกอบดังนี้ • Plan(การวางแผน) • Do (การดำเนินงาน) • Check (การติดตามตรวจสอบ) • Action(การปรับปรุงและการพัฒนา)
วิธีปฏิบัติที่ดี • Plan • ศึกษารายละเอียด • ผลงานของแต่ละทีมที่เข้าร่วม • เปรียบเทียบกับศักยภาพของทีม SKUBA • นำมาวางแผนการพัฒนาโปรแกรมเพื่อแก้เกมส์คู่แข่งขัน โดยมีการแบ่งงานกันทำอย่างชัดเจนเป็น 3 ส่วนดัง แผนภูมิด้านล่าง ภาพการวางแผน
วิธีปฏิบัติที่ดี(ต่อ) • จะมีการเก็บตัวนิสิตเพื่อฝึกซ้อม • เตรียมความพร้อมก่อนการแข่งขัน • มีการตรวจสอบความพร้อมทุกอย่าง เพื่อเมื่อถึงเวลาการแข่งขันมีปัญหาสามารถแก้ไขปัญหาได้ตามลำดับ • การฝึกซ่อมบำรุงในเวลาอันจำกัด • การตรวจประเมินคุณภาพหุ่นยนต์ • Do ภาพการดำเนินงาน
วิธีปฏิบัติที่ดี(ต่อ) • ระหว่างแข่งขันในแต่ละรอบ • การประเมินผล • หลังการแข่งขันในแต่ละรอบ • การประชุมระดมความคิด • Check ภาพการติดตามและตรวจสอบ
วิธีปฏิบัติที่ดี(ต่อ) • หลังจากเสร็จสิ้นการแข่งขัน • การประชุมวิชาการเพื่อเปิดเผยข้อมูล • ต้องเป็นผู้นำทางนวัตกรรม • แผนพัฒนาในอนาคต • พัฒนาระบบให้ก้าวหน้า • Action ภาพการปรับปรุงและการพัฒนา
หลักฐานความสำเร็จ • ปี2551 • รางวัลรองชนะเลิศจากการแข่งขันฟุตบอลหุ่นยนต์ชิงแชมป์ประเทศไทย 2551 (RoboCup Thailand Championship 2008) • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3 และรางวัลรองชนะเลิศเทคนิคยอดเยี่ยมจากการแข่งขันฟุตบอลหุ่นยนต์ในสนามฟุตบอลระดับโลก World RoboCup 2008 ณ เมืองซูโจว ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
หลักฐานความสำเร็จ(ต่อ)หลักฐานความสำเร็จ(ต่อ) ภาพทีม SKUBA ภาพ รางวัลรองชนะเลิศอันดับสาม ณ เมืองซูโจว ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ภาพรางวัลรองชนะเลิศเทคนิคยอดเยี่ยม (Technical Challenge) ณ เมืองซูโจว ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน • ปี2551 • รางวัลรองชนะเลิศจากการแข่งขันฟุตบอลหุ่นยนต์ชิงแชมป์ประเทศไทย 2551 (RoboCup Thailand Championship 2008) • รางวัลชนะเลิศอันดับ 3 และรางวัลรองชนะเลิศเทคนิคยอดเยี่ยมจากการแข่งขันฟุตบอลหุ่นยนต์ในสนามฟุตบอลระดับโลก World RoboCup 2008 ณ เมืองซูโจว ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
หลักฐานความสำเร็จ(ต่อ)หลักฐานความสำเร็จ(ต่อ) • ปี2552 • รางวัลชนะเลิศแชมป์โลก รางวัลชนะเลิศด้านเทคนิคยอดเยี่ยม (Technical Challenge) และรางวัลเอกสารทางวิชาการยอดเยี่ยม (Best Extended Team Description Paper) จากการแข่งขันหุ่นยนต์เตะฟุตบอลชิงแชมป์โลกประจำปี 2009 (RoboCup2009) ซึ่งจัดขึ้นในระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน 2552 ถึง 7 กรกฏาคม2552 ณ เมือง กราซ(Graz) ประเทศออสเตรีย • รางวัลชนะเลิศและรางวัลชนะเลิศด้านเทคนิคยอดเยี่ยม จาการแข่งขันChina RoboCup 2009 ระหว่างวันที่ 25-27 ธันวาคม 2552 ณ เมืองต้าเหลียน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
หลักฐานความสำเร็จ(ต่อ)หลักฐานความสำเร็จ(ต่อ) • ปี2552 • รางวัลชนะเลิศแชมป์โลก รางวัลชนะเลิศด้านเทคนิคยอดเยี่ยม (Technical Challenge) และรางวัลเอกสารทางวิชาการดีเยี่ยม (Best Extended Team Description Paper) จากการแข่งขันหุ่นยนต์เตะฟุตบอลชิงแชมป์โลกประจำปี 2009 (RoboCup2009) ซึ่งจัดขึ้นในระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน 2552 ถึง 7 กรกฏาคม2552 ณ เมือง กราซ(Graz) ประเทศออสเตรีย • รางวัลชนะเลิศ และรางวัลชนะเลิศด้านเทคนิคยอดเยี่ยม จาการแข่งขันChina RoboCup 2009 ระหว่างวันที่ 25-27 ธันวาคม 2552 ณ เมืองต้าเหลียน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ภาพทีม SKUBAณ เมืองกราซ(Graz) ประเทศออสเตรีย ภาพรางวัลชนะเลิศด้านเทคนิคยอดเยี่ยม (Technical Challenge) และรางวัลเอกสารทางวิชาการดีเยี่ยม (Best Extended Team Description Paper) ณ เมืองกราซ(Graz) ประเทศออสเตรีย ภาพ รางวัลชนะเลิศ และรางวัลชนะเลิศด้านเทคนิคยอดเยี่ยม ณ เมืองต้าเหลียน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
หลักฐานความสำเร็จ(ต่อ)หลักฐานความสำเร็จ(ต่อ) • ปี2553 • รางวัลชนะเลิศแชมป์โลก และรางวัลชนะเลิศเทคนิคยอดเยี่ยมจากการแข่งขันฟุตบอลหุ่นยนต์ในสนามฟุตบอลระดับโลก World RoboCup 2010 ระหว่างวันที่ 18-27 มิถุนายน 2553 ณ ประเทศสิงคโปร์
หลักฐานความสำเร็จ(ต่อ)หลักฐานความสำเร็จ(ต่อ) ภาพ รางวัลชนะเลิศ และรางวัลชนะเลิศด้านเทคนิคยอดเยี่ยม ณ ประเทศสิงคโปร์ ภาพ ทีม SKUBA ณ ประเทศสิงคโปร์ • ปี2553 • รางวัลชนะเลิศแชมป์โลก และรางวัลชนะเลิศเทคนิคยอดเยี่ยมจากการแข่งขันฟุตบอลหุ่นยนต์ในสนามฟุตบอลระดับโลก World RoboCup 2010 ระหว่างวันที่ 18-27 มิถุนายน 2553 ณ ประเทศสิงคโปร์
หลักฐานความสำเร็จ(ต่อ)หลักฐานความสำเร็จ(ต่อ) • ปี2554 • รางวัลชนะเลิศ จากการแข่งขัน RoboCup Iran open 2011ระหว่างวันที่ 3-10 เมษายน 2554 ณ เมืองเตหะราน ประเทศอิหร่าน • รางวัลชนะเลิศแชมป์โลก และรางวัลชนะเลิศเทคนิคยอดเยี่ยม ประเภทNavigation challenge(ระบบนำทาง) และประเภท Mixed Teams challenge(ผสมทีม) จากการแข่งขันฟุตบอลหุ่นยนต์ในสนามฟุตบอลระดับโลก World RoboCup 2011 ระหว่างวันที่ 3-14 กรกฎาคม 2554 ณ เมืองอิสตันบูล ประเทศตุรกี
หลักฐานความสำเร็จ(ต่อ)หลักฐานความสำเร็จ(ต่อ) • ปี2554 • รางวัลชนะเลิศ จากการแข่งขัน RoboCup Iran open 2011ระหว่างวันที่ 3-10 เมษายน 2554 ณ เมืองเตหะราน ประเทศอิหร่าน • รางวัลชนะเลิศแชมป์โลก และรางวัลชนะเลิศเทคนิคยอดเยี่ยม ประเภทNavigation challenge(ระบบนำทาง) และประเภท Mixed Teams challenge(ผสมทีม) จากการแข่งขันฟุตบอลหุ่นยนต์ในสนามฟุตบอลระดับโลก World RoboCup 2011 ระหว่างวันที่ 3-14 กรกฎาคม 2554 ณ เมืองอิสตันบูล ประเทศตุรกี ภาพ ทีม SKUBA ณ เมืองเตหะราน ประเทศอิหร่าน รางวัลชนะเลิศ และรางวัลชนะเลิศเทคนิคยอดเยี่ยม ประเภทNavigation challenge (ระบบนำทาง) และประเภท Mixed Teams challenge (ผสมทีม) ณ ประเทศตุรกี ภาพ รางวัลชนะเลิศ ณ เมืองเตหะราน ประเทศอิหร่าน
ปัจจัยเกื้อหนุนความสำเร็จปัจจัยเกื้อหนุนความสำเร็จ • มหาวิทยาลัยมีความชัดเจนในเรื่องการสนับสนุนให้นิสิต • คิดค้นนวัตกรรม • เข้าร่วมการแข่งขันในเวทีระดับประเทศและนานาชาติ • ปัจจัยด้านสถานที่ • มหาวิทยาลัยได้ให้การสนับสนุนสถานที่ในการทำกิจกรรมแก่ทีมนิสิต SKUBA โดยได้จัดหาสถานที่ไว้ให้พร้อมอุปกรณ์ สำหรับการทำวิจัยและพัฒนา ปัจจัยด้านการมีนโยบายและการส่งเสริมที่ชัดเจนของผู้บริหารทั้งในระดับมหาวิทยาลัยและคณะ
ปัจจัยเกื้อหนุนความสำเร็จ(ต่อ)ปัจจัยเกื้อหนุนความสำเร็จ(ต่อ) • ภายในทีมจะมีผู้ร่วมทีมที่เป็นทั้งรุ่นพี่ ที่จะคอยให้คำแนะนำ แบ่งปันประสบการณ์ที่ตนเองเคย • ปัจจัยด้านการดำเนินงาน • ทีม SKUBA มีแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี เพื่อการเตรียมทีมเข้าแข่งขันใน events ต่าง ๆ โดยมีดูแลอย่างใกล้ชิดจากอาจารย์ที่ปรึกษา ปัจจัยด้านรุ่นพี่รุ่นน้อง
ปัจจัยเกื้อหนุนความสำเร็จ(ต่อ)ปัจจัยเกื้อหนุนความสำเร็จ(ต่อ) • เมื่อประสบความสำเร็จก็มีรางวัล เรียนฟรี และ ได้รับโอกาสพิเศษในการสมัครเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลก ได้ประสบการณ์กับจากการเดินทางไปต่างประเทศ • ปัจจัยด้านอาจารย์ที่ปรึกษา • การมีอาจารย์ที่ปรึกษาที่ทุ่มเท คลุกคลีกับนิสิต ร่วมคิด ร่วมแก้ปัญหา ร่วมวางแผน จัดหาแหล่งเงินทุนให้แก่นิสิต ปัจจัยด้านขวัญและกำลังใจของทีม
ปัจจัยเกื้อหนุนความสำเร็จ(ต่อ)ปัจจัยเกื้อหนุนความสำเร็จ(ต่อ) ปัจจัยด้านการมีคุณสมบัติ 3e + 3iของนิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปัจจัยเกื้อหนุนความสำเร็จ(ต่อ)ปัจจัยเกื้อหนุนความสำเร็จ(ต่อ) • Electronics • Electronics (Computer) • มีความเชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์ • ในการแข่งขันต้องใช้เทคโนโลยีของปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) และ Image Processing ปัจจัยด้านการมีคุณสมบัติ 3e + 3iของนิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์
ปัจจัยเกื้อหนุนความสำเร็จ(ต่อ)ปัจจัยเกื้อหนุนความสำเร็จ(ต่อ) • English • สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี ในการจัดแข่งขัน • World RoboCup Soccer ระดับโลกนั้น จะบังคับให้ทุกทีมต้องนำเสนอเทคนิคที่นำมาใช้ นำเสนอเป็นภาษาอังกฤษ • English ปัจจัยด้านการมีคุณสมบัติ 3e + 3iของนิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์
ปัจจัยเกื้อหนุนความสำเร็จ(ต่อ)ปัจจัยเกื้อหนุนความสำเร็จ(ต่อ) • Ethic • มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ • นิสิตในทีม SKUBAมีจรรยาบรรณด้านวิชาชีพวิศวกร ได้คิดและพัฒนาหุ่นยนต์เป็นของตนเอง ไม่แอบอ้างผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน • Ethic ปัจจัยด้านการมีคุณสมบัติ 3e + 3iของนิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์
3i ปัจจัยเกื้อหนุนความสำเร็จ(ต่อ) • Innovation • Innovation • Innovation • มีความคิดสร้างสรรค์ และสร้างนวัตกรรม • หุ่นยนต์แต่ละทีมจะมีเทคนิคเป็นของตนเองรวมทั้งซอฟท์แวร์ควบคุมการทำงานก็เป็นฝีมือจากการพัฒนาที่ไม่เหมือนกัน ผู้พัฒนาจะต้องมีความคิดสร้างสรรค์ที่ล้ำเลิศ • Integration • Improvement ปัจจัยด้านการมีคุณสมบัติ 3e + 3iของนิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์
3i ปัจจัยเกื้อหนุนความสำเร็จ(ต่อ) • Innovation • Integration • Integration • การบูรณาการความรู้หลากหลายและทำงานเป็นทีมร่วมกับผู้อื่นได้ดี • ทีมฟุตบอลหุ่นยนต์ SKUBA เป็นตัวอย่างของการบูรณาการได้อย่างดีที่สุด • ความรู้หลากหลายด้าน • การทำงานร่วมกันเป็นทีม • แบ่งงานกันทำ • Integration • Improvement ปัจจัยด้านการมีคุณสมบัติ 3e + 3iของนิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์
3i ปัจจัยเกื้อหนุนความสำเร็จ(ต่อ) • Innovation • Improvement • Improvement • พัฒนาตนเองและงานที่ทำให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง • ทีมฟุตบอลหุ่นยนต์ SKUBA เข้าร่วมแข่งขัน RoboCup Soccer มาหลายครั้ง โดยนิสิตมีความพยายามพัฒนาผลงานและเทคนิคให้ดีขึ้น เพื่อไม่ให้ทีมอื่นตามทันในการแข่งขันครั้งถัดไป และคว้ารางวัลมาได้อย่างต่อเนื่อง • Integration • Improvement ปัจจัยด้านการมีคุณสมบัติ 3e + 3iของนิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์
แนวทางการพัฒนาต่อเนื่องแนวทางการพัฒนาต่อเนื่อง ในการพัฒนาทีมต่อไปในอนาคต เป้าหมายที่ไม่เปลี่ยนแปลง คือ การรักษาแชมป์โลก ด้านการแข่งขันฟุตบอลหุ่นยนต์ไว้ให้ได้ แนวทางที่ทีมจะดำเนินการต่อไป
สรุป “ทำให้ลูกเข้าประตู” ความสำเร็จอย่างต่อเนื่องของนิสิตทีม SKUBA แสดงให้เห็นถึงแนวปฏิบัติที่ดี การมีปัจจัยเกื้อหนุน และความพร้อมในการเข้าร่วมการแข่งขัน แต่การมีแนวปฏิบัติที่ดี ก็ใช่ว่าจะได้แต้ม สิ่งที่จะทำให้ได้แต้มคือ