450 likes | 1.05k Views
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. สุธาสินี ศรีวิชัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช ภัฎ เชียงราย. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. หลักการและแนวคิด
E N D
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง สุธาสินี ศรีวิชัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง หลักการและแนวคิด เป้าหมายของการจัดการศึกษาจะต้องมุ่งสร้างสรรค์สังคมให้มีลักษณะที่เอื้อต่อกาพัฒนาประเทศชาติโดยรวม มุ่งสร้าง “คน” หรือ “ผู้เรียน” ซึ่งเป็นผลผิตโดยตรง ให้มีคุณลักษณะ มีศักยภาพ และความสามารถที่จะพัฒนาตนเองและสังคมไปสู่ความสำเร็จได้
1. ความเป็นมาของแนวคิด Carl R.Rogersคือ ผู้คิดค้นและใช้คำว่า “เด็กเป็นศูนย์กลาง” Child-centredเป็นครั้แรก ในวิธีการนี้ ผู้เรียนจะได้รับการส่งเสริมให้มีความรับผิดชอบและมีส่วนร่วมเต็มที่ต่อการเรียนรู้ของตน
ลักษณะความแตกต่างของการจัดกระบวนการเรียนรู้ลักษณะความแตกต่างของการจัดกระบวนการเรียนรู้ ประเด็น การเรียนรู้แบบเดิม การเรียนรู้แบบใหม่ 1. หน่วยการเรียนรู้ 2. จุดเน้น 3. การพัฒนาประสบการณ์ 4. บทบาทผู้เรียน 5. บทบาทของครู 6. การสื่อสาร 7. บรรยายกาศ 8. วิธีการเรียนรู้ 9. ผู้รับผิดชอบต่อผลการเรียน 10. ผู้ได้รับการตอบสนองความต้องการ 11. การถ่ายโอนการเรียนรู้ไปสู่การทำงาน/ชีวิตจริง 12. การประเมิน -คนเดียว -เนื้อหา -สติปัญญา -ฟัง จด จำ สอบ ลืม -สอน บอก บรรยาย สั่ง ประเมิน -ทางเดียว -เป็นทางการ ปิดกั้น ย้ำสถานภาพครู นักเรียน -ครูตั้งโจทย์ คำถามที่ดีที่สุด -ครู -ครู -น้อยและไม่แน่นอน -เนื้อหา -กลุ่ม/เดี่ยว -เนื้อหา/กระบวนการ -ร่างกาย อารมณ์ ปัญญา สังคม/รู้จักตนเอง ค่านิยม ความเชื่อ -มีส่วนร่วม ปฏิสัมพันธ์ ค้นคว้า สรุปด้วยตนเอง กระตือรือร้น -อำนวยความสะดวก เป็นแหล่งความรู้ สนับสนุน กระตุ้น -สองทาง -ไม่เป็นทางการ ผ่อนคลาย สนุก ไม่ย้ำสถานภาพ -หาทางกระตุ้น สนับสนุนกลุ่มให้คิดคำถามที่ลึกซึ้งและหาทางตอบคำถามนั้น -ผู้เรียนและครู -ผู้เรียน -มาก -ผลงานและกระบวนการ
หลักการพื้นฐานของแนวคิด “ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 1. ผู้เรียนมีบทบาทรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตน 2. เนื้อหาวิชามีความสำคัญและมีความหมายต่อการเรียนรู้ 3. การเรียนรู้จะประสบผลสำเร็จหากผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน 4. สัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้เรียน 5. ครู คือ ผู้อำนวยความสะดวกและเป็นแหล่งความรู้ 6. ผู้เรียนมีโอกาสเห็นตนเองในแง่มุมที่แตกต่างจากเดิม 7. การศึกษา คือ การพัฒนาประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียนหลายๆด้านพร้อมกันไป
หลักการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 1. เป็นกระบวนการที่ควรเป็นไปอย่างมีชีวิตชีวา 2. การเรียนรู้เกิดขึ้นได้จากแหล่งต่างๆกัน 3. การเรียนรู้ที่ดีจะต้องเป็นการเรียนรู้ที่เกิดจาก การสร้างความรู้ความเข้าใจด้วยตนเอง 4. การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้มีความสำคัญ 5. การเรียนรู้ที่มีความหมายแก่ผู้เรียน
รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบที่ได้รับความสนใจ และง่ายต่อการนำไปปฏิบัติ คือ CIPPA Model ซึ่งมีรายละเอียดของรูปแบบ ดังนี้ C - Construct I - Interaction P - Participation P - Process and Product A - Application
ตัวบ่งชี้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางตัวบ่งชี้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ตัวบ่งชี้การเรียนของผู้เรียน 1. ผู้เรียนมีประสบการณ์ตรงสัมพันธ์กับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจนพบความถนัดและวิธีการของตน 3. ผู้เรียนทำกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่ม 4. ผู้เรียนฝึกคิดอย่างหลากหลายและสร้างสรรค์จินตนาการ 5. ผู้เรียนได้รับการเสริมแรงให้ค้นพบคำตอบ 6. ผู้เรียนได้ฝึกค้นคว้าด้วยตนเอง 7. ผู้เรียนได้เลือกทำกิจกรรมตามความสามารถ 8. ผู้เรียนฝึกตนเองให้มีวินัย 9. ผู้เรียนฝึกประเมิน ปรับปรุงตนเองและยอมรับผู้อื่น
ตัวบ่งชี้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางตัวบ่งชี้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ตัวบ่งชี้การสอนของครู 1. ครูเตรียมการสอนทั้งเนื้อหาและวิธีการ 2. ครูจัดสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศที่ปลุกเร้า 3. ครูเอาใจใส่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล 4. ครูจัดกิจกรรมและสถานการณ์ ให้ผู้เรียนได้แสดงออก 5. ครูส่งเสริมให้ผู้เรียนฝึกคิด
ตัวบ่งชี้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางตัวบ่งชี้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ตัวบ่งชี้การสอนของครู 6. ครูส่งเสริมกิจกรรมแลกเปลี่ยนความคิดจากกลุ่ม 7. ครูใช้สื่อการสอนเพื่อฝึกการคิด 8. ครูใช้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายและเชื่อมโยง ชีวิตจริง 9. ครูฝึกฝนกิริยามารยาทตามวิธีวัฒนธรรมไทย 10. ครูสังเกตและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
หลักการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนหลักการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน 1. เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา สังคม และอารมณ์ 2. ยึดกลุ่มเป็นแหล่งความรู้ที่สำคัญ 3. ยึดการค้นพบด้วยตนเองเป็นวิธีการสำคัญ 4. เน้นกระบวนการ 5. เน้นการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้หรือใช้ในชีวิตประจำวัน
รูปแบบหรือระดับของการจัดการเรียนการสอนรูปแบบหรือระดับของการจัดการเรียนการสอน รูปแบบที่ 1 Student-centered class ครูเตรียมเนื้อหา วัสดุ อุปกรณ์ และสื่อทั้งหมด รูปแบบที่ 2 Learner-based teaching ครูกระตุ้นหรือมอบหมายให้ผู้เรียนค้นคว้าข้อมูลเรื่องที่จะเรียน รูปแบบที่ 3 Learner independence / Self-directed learning ผู้เรียนเป็นอิสระจากชั้น สามารถศึกษาค้นคว้าจากสื่อที่จัดไว้ในศูนย์การเรียนด้วยตนเอง
บทบาทของครูในการจัดการเรียนการสอนบทบาทของครูในการจัดการเรียนการสอน 1. บทบาทด้านการเตรียมการสอน 1.1 การศึกษา และวิเคราะห์เรื่องที่จะสอน 1.2 การเตรียมแหล่งข้อมูล 1.3 การจัดทำแผนการสอน 1.4 การเตรียมสื่อ วัสดุอุปกรณ์ 1.5 การเตรียมการวัดและประเมินผล
บทบาทของครูในการจัดการเรียนการสอนบทบาทของครูในการจัดการเรียนการสอน 2. บทบาทด้านการดำเนินการ 2.1 การเป็นผู้ช่วยเหลือให้คำแนะนำปรึกษา 2.2 การเป็นผู้สนับสนุนและเสริมแรง 2.3 การเป็นผู้มีส่วนร่วมในกิจกรรม 2.4 การเป็นผู้ติดตามตรวจสอบ 2.5 การเป็นผู้ให้ข้อมูลป้อนกลับ 2.6 การเป็นผู้สร้างเสริมบรรยากาศที่อบอุ่นเป็นมิตร 3. บทบาทด้านการประเมินผล