440 likes | 563 Views
แนวทาง การประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของรัฐ. โดย สมชาย ศักดาเวคีอิศร ผู้อำนวยการสำนักประเมินผลและเผยแพร่การพัฒนา สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันพฤหัสบดีที่ 24 กรกฎาคม 2551 ณ โรงแรม ปรินซ์ พาเลซ กรุงเทพมหานคร.
E N D
แนวทางการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของรัฐแนวทางการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของรัฐ โดย สมชาย ศักดาเวคีอิศร ผู้อำนวยการสำนักประเมินผลและเผยแพร่การพัฒนา สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วันพฤหัสบดีที่ 24 กรกฎาคม 2551 ณ โรงแรม ปรินซ์ พาเลซ กรุงเทพมหานคร
เจตนารมณ์ของการประเมินความคุ้มค่าฯตามมาตรา 22 ของ พรฏ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
“ให้ สศช. และ สงป. ร่วมกันจัดให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการดำเนินการอยู่ เพื่อรายงานคณะรัฐมนตรี สำหรับเป็นแนวทางในการพิจารณาว่าภารกิจใดสมควรจะได้ดำเนินการต่อไป หรือยุบเลิก และเพื่อประโยชน์ในการจัดตั้งงบประมาณของส่วนราชการในปีต่อไป....”
การประเมินความคุ้มค่า : การประเมินการดำเนินภารกิจของภาครัฐเพื่อให้ได้ผลผลิตผลลัพธ์ตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพมีประโยชน์ที่สมดุลกับทรัพยากรที่ใช้ ผลลัพธ์เป็นได้ทั้งผลสำเร็จ และผลกระทบทางลบ ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน
ประเมินว่าการปฏิบัติภารกิจมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อประชาชน/ภาครัฐ มากหรือน้อยกว่าค่าใช้จ่ายและผลเสียที่เกิดขึ้นเพียงใด วัตถุประสงค์ เป็นข้อมูลสำหรับส่วนราชการในการทบทวนจัดลำดับความสำคัญในการเลือกปฏิบัติภารกิจ หรือเป็นข้อมูลสำหรับรัฐบาลเพื่อพิจารณายุบเลิกภารกิจ รวมทั้งปรับปรุงวิธีการปฏิบัติภารกิจ เป็นแนวทางในการพิจารณาจัดตั้งงบประมาณของส่วนราชการในปีต่อไป วัตถุประสงค์
ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ผลกระทบ กรอบการประเมินความคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ / เป้าหมาย ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ความสอดคล้องในการใช้ทรัพยากร / กระบวนการทำงาน / ผลิตภาพ ผลสืบเนื่องจากการปฏิบัติภารกิจ ตามที่คาดหมายและไม่ คาดหมาย
Performance Audit - INTOSAI’s Model Commitment Purpose defined Output Services provided Outcome Objective met Input Resources assigned Action/ Production Action done ประสิทธิผล ความสำเร็จในการตอบสนองต่อจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ที่กำหนด ประหยัด ทำให้ค่าใช้จ่ายในการใช้ปัจจัยนำเข้าลดลง ประสิทธิภาพ ผลิตสินค้าหรือบริการให้ได้มากที่สุดจากทรัพยากรเท่าที่มีอยู่อย่างจำกัด ที่มา : INTOSAI, Implementation Guidelines for Performance Auditing: Standards and guidelines for performance auditing based on INTOSAI’s auditing standards and practical experience, p.14. (อ้างอิงโดยสถาบันนโยบายและการจัดการ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : ที่ปรึกษาโครงการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐและการจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะ)
ความเชื่อมโยงระหว่างการประเมินการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการกับการประเมินความคุ้มค่าความเชื่อมโยงระหว่างการประเมินการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการกับการประเมินความคุ้มค่า ประเมินความคุ้มค่า การจัดทำคำรับรองฯ (กพร) เป้าประสงค์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ยุทธศาสตร์ กลุ่มภารกิจ 1 • ต้นทุนต่อหน่วย • Cost-effectiveness • ผลประโยชน์ของภารกิจ • -อัตราส่วนต้นทุนค่าใช้จ่าย • -NPV • -IRR • -ผลกระทบอื่น ๆ ที่ประเมิน เป็นมูลค่าไม่ได้ กระทรวง ผลลัพธ์ เป้าประสงค์ ผลผลิต ยุทธศาสตร์ กลุ่มภารกิจ2 ประเมินความเหมาะสมของ งาน/โครงการ ก่อนดำเนินการ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุณภาพ การพัฒนาองค์กร(Balanced Scorecard) สำนักงานปลัดกระทรวงฯ ผลลัพธ์ เป้าประสงค์ ผลผลิต ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ผลผลิต ผลลัพธ์ ยุทธศาสตร์ สำนักงาน ก. การประเมินความคุ้มค่า:ดำเนินการทั้งก่อนและหลังการปฏิบัติภารกิจ โดยใช้ตัวชี้วัดประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ตามคำรับรองฯ (กพร.) บวกกับตัวชี้วัดผลลัพธ์/ผลกระทบและตัวชี้วัดเพิ่มเติม
ขอบเขตการประเมินความคุ้มค่าขอบเขตการประเมินความคุ้มค่า หน่วยการประเมิน ภารกิจที่ต้องประเมิน ภารกิจหลัก/งานหลัก ๏ บริการสาธารณะ ๏ บริการด้านการพัฒนา/ ความมั่นคง หน่วยงาน ระดับกระทรวง • สำนักงานปลัดกระทรวง • กรมโยธาธิการและผังเมือง • กรมการปกครอง • กรมการพัฒนาชุมชน • กรมที่ดิน • กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย • กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ผลผลิตหลัก โครงการที่สำคัญต่อภารกิจ
ตัวชี้วัดการประเมินความคุ้มค่าตัวชี้วัดการประเมินความคุ้มค่า ตัวชี้วัดเพิ่มเติม ตัวชี้วัดหลัก ภารกิจ บริการสาธารณะ (ประชาชนได้ประโยชน์โดยตรง) ประสิทธิภาพ ๏ต้นทุนต่อหน่วย ๏ สัดส่วนผลผลิตต่อทรัพยากร ๏ สัดส่วนค่าใช้จ่ายจริงต่อค่าใช้จ่ายตามแผน ประสิทธิผลของค่าใช้จ่าย (Cost-Effectiveness) ประสิทธิผล ๏ความสำเร็จในการบรรลุวัตถุประสงค์/เป้าหมาย ๏ ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้ประโยชน์ ๏ คุณภาพการให้บริการ บริการด้านการพัฒนาและความมั่นคง (ประชาชนได้ประโยชน์โดยอ้อม) ผลกระทบ๏ต่อประชาชน ๏ ต่อเศรษฐกิจ ๏ ต่อสังคม ๏ ต่อสิ่งแวดล้อม ผลสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้งบประมาณ ๏ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้ งบประมาณ (PART) ประเมินทั้ง 4 ประเด็น Benefit-Cost Ratio ภารกิจที่เป็นโครงการ
แผนการดำเนินงาน • ขยายผล3 กระทรวงนำร่อง • มหาดไทย • อุตสาหกรรม • สาธารณสุข • วางกรอบแนวทาง • จัดทำรายละเอียดแนวทางการประเมินความคุ้มค่าฯ • เสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ 18 ตุลาคม 2548 ทุกกระทรวงเริ่มดำเนินการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจ ทดลองประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของ สศช. 2550-51 2547-48 2552 2549
การดำเนินงานของ สศช. ในปีงบประมาณ 2550 สศช. ดำเนินโครงการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐและการจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะ โดยวิธีจ้าง ที่ปรึกษา (คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ) ดำเนินการระหว่าง 10 เดือน (26 กรกฎาคม 2550 – 25 พฤษภาคม 2551)
สาระสำคัญของโครงการฯ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อริเริ่มให้เกิดการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจและการจัดทำรายงานในหน่วยงานนำร่อง เพื่อทดสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติในการประเมินความคุ้มค่าในหน่วยงานภาครัฐ 2. เพื่อปรับปรุงแนวทางการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของรัฐ ซึ่งรวมถึงหลักเกณฑ์ตัวชี้วัด เอกสารคู่มือ แบบรายงาน เพื่อให้ส่วนราชการสามารถนำไปใช้ในทางปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 3. เพื่อวางกรอบแนวทางการจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะ ที่ครอบคลุมการดำเนินงานของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจและองค์กรมหาชน สำหรับใช้เป็นแนวทางจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะในระยะต่อไป 4. เพื่อให้คำปรึกษาแนะนำการจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะในปีงบประมาณ 2549 ที่ดำเนินการโดย สศช.
ขอบเขตการดำเนินงาน • สร้างความรู้ความเข้าใจแก่หน่วยงานนำร่องในเรื่องกรอบความคิดการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของรัฐ หลักเกณฑ์ ตัวชี้วัด วิธีการประเมิน และการจัดทำรายงาน 2. เป็นที่ปรึกษาหน่วยงานนำร่องระดับกระทรวง 3 กระทรวง ในการประเมินความคุ้มค่าด้วยตัวเองตามแนวทางที่กำหนด รวมทั้งการวิเคราะห์ผลและการจัดทำรายงาน 3. พัฒนาและปรับปรุงคู่มือและแบบรายงานเพื่อใช้ในการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานภาครัฐ โดยให้มีรูปแบบที่หลากหลายตามลักษณะภารกิจของหน่วยงานภาครัฐ 4. จัดทำแนวทางการปรับปรุงแนวทางการประเมินความคุ้มค่า และแนวทางการขยายผล
ขอบเขตการดำเนินงาน (ต่อ) 5. ศึกษาพัฒนากรอบแนวทางการจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะระดับ กรม กระทรวง และระดับประเทศ ที่มีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กัน และครอบคลุมทั้งการดำเนินงานของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรมหาชน สำหรับใช้เป็นแนวทางจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะในระยะต่อไป 6. ให้คำปรึกษาแนะนำการจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะในปีงบประมาณ 2549 ที่ดำเนินการโดย สศช.
หลักเกณฑ์การพิจารณาหน่วยงานนำร่องหลักเกณฑ์การพิจารณาหน่วยงานนำร่อง 1. เป็นตัวอย่างเทียบเคียง สำหรับหน่วยงานอื่นได้ 2. ความพร้อมของข้อมูล และเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ลักษณะงานประเมินด้วยตัวชี้วัดได้อย่างชัดเจน 4. ความสมัครใจของหน่วยงาน การเรียนเชิญหน่วยงานระดับกระทรวงเป็นหน่วยนำร่อง กลุ่มเศรษฐกิจ กลุ่มสังคม กลุ่มบริหารฯ ก.มหาดไทย ก.สาธารณสุข ก.อุตสาหกรรม
กรอบการดำเนินงานในเบื้องต้นกรอบการดำเนินงานในเบื้องต้น เป็นการประเมินในภาพรวม โดยเลือกประเมินเฉพาะภารกิจหลัก และเลือกเฉพาะงาน/โครงการสำคัญ :- ครอบคลุมผลผลิตและโครงการตามเอกสารงบประมาณที่เป็นภารกิจหลักมีสัดส่วนประมาณ 80% (20% จะเป็นงานสนับสนุน) ครอบคลุมการดำเนินงานของทุกกรมในกระทรวง ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค (ไม่รวมรัฐวิสาหกิจ ) 26 กรม ใน 3 กระทรวง ประเมินภารกิจในปี 2550 และย้อนหลังในปี 2549 เพื่อเปรียบเทียบระหว่างปี หา Benchmark ได้
การเตรียมกลไกและข้อมูลของหน่วยงานนำร่องการเตรียมกลไกและข้อมูลของหน่วยงานนำร่อง เตรียมกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงาน ตั้งคณะทำงานในระดับกระทรวง ประกอบด้วยผู้แทนจากทุกกรม พร้อมทั้งกำหนดผู้ประสานงานอย่างชัดเจน เพื่อขับเคลื่อนการประเมินความคุ้มค่า • จัดตั้งกลไก 2 ระดับ คือ ระดับนโยบาย และระดับปฏิบัติงาน มีผู้แทนจากทุกกรม และหน่วยที่ดูแลต้นทุนผลผลิต • มอบหมายหน่วยงานที่จะเป็นแกนหลักประสานงาน และรวบรวมข้อมูล เตรียมข้อมูลเบื้องต้นที่จำเป็นต่อการประเมิน ภายใต้การประเมินความคุ้มค่าที่ครอบคลุมมิติประสิทธิผล มิติประสิทธิภาพ มิติผลกระทบ มีข้อมูลเบื้องต้นที่จำเป็นต้องใช้เพื่อการวางกรอบแนวทาง อาทิ พ.ร.บ. และ พ.ร.ฎ. ที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงและกรม / แผนกลยุทธ์ของกระทรวงและกรม / แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี / ผังโครงสร้างการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ชาติ / การวิเคราะห์ SWOT ของกระทรวงและกรม / ตัวชี้วัดผลลัพธ์ระดับผลผลิตของกรม และปริมาณงานของกรม / ผังเชื่อมโยงผลลัพธ์สู่ผลผลิต กิจกรรม งบประมาณของกรม / รายงานตามแบบ สงป. 301
ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมเป็นหน่วยงานนำร่องประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมเป็นหน่วยงานนำร่อง สามารถเตรียมความพร้อมเป็นการล่วงหน้าให้กับหน่วยงาน ให้พร้อมรับกับทิศทางการบริหารจัดการและระบบการประเมินภาครัฐในระยะต่อไป ที่ให้ความสำคัญกับ “ผลสำเร็จ” “ผลประโยชน์” ที่เกิดจากการดำเนินงานโดยเปรียบเทียบกับปัจจัยที่ใช้ ซึ่งทุกหน่วยงานต้องทราบถึงผลและความคุ้มค่าของการดำเนินงานที่ชัดเจน ผู้บริหารได้รับทราบผลการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงาน สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินตนเอง เพื่อประโยชน์ในการจัดลำดับความสำคัญของการเลือกปฏิบัติภารกิจ และปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลยิ่งขึ้น รวมทั้งประโยชน์ในการจัดทำงบประมาณของหน่วยงานในปีต่อไป สร้างโอกาสและกระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริงให้กับเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถดำเนินการประเมิน ความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานด้วยตนเอง ภายใต้การมีที่ปรึกษา ซึ่งมีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญมาช่วยในการวางกรอบแนวทางและพัฒนาองค์ความรู้เชิงเทคนิควิธีการให้
ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมเป็นหน่วยงานนำร่องประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วมเป็นหน่วยงานนำร่อง สามารถเตรียมความพร้อมเป็นการล่วงหน้าให้กับหน่วยงาน ให้พร้อมรับกับทิศทางการบริหารจัดการและระบบการประเมินภาครัฐในระยะต่อไป ที่ให้ความสำคัญกับ “ผลสำเร็จ” “ผลประโยชน์” ที่เกิดจากการดำเนินงานโดยเปรียบเทียบกับปัจจัยที่ใช้ ซึ่งทุกหน่วยงานต้องทราบถึงผลและความคุ้มค่าของการดำเนินงานที่ชัดเจน ผู้บริหารได้รับทราบผลการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงาน สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินตนเอง เพื่อประโยชน์ในการจัดลำดับความสำคัญของการเลือกปฏิบัติภารกิจ และปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลยิ่งขึ้น รวมทั้งประโยชน์ในการจัดทำงบประมาณของหน่วยงานในปีต่อไป สร้างโอกาสและกระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริงให้กับเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถดำเนินการประเมิน ความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานด้วยตนเอง ภายใต้การมีที่ปรึกษา ซึ่งมีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญมาช่วยในการวางกรอบแนวทางและพัฒนาองค์ความรู้เชิงเทคนิควิธีการให้
จากประสบการณ์ของหน่วยงานนำร่องจากประสบการณ์ของหน่วยงานนำร่อง ในการประเมินความคุ้มค่า เตรียมข้อมูลที่จำเป็นต่อการประเมินความคุ้มค่า 1. เป้าหมายการให้บริการกระทรวง/เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน 2. ความเชื่อมโยง(ความสัมพันธ์)ระหว่างเป้าหมายการให้บริการกระทรวง กับเป้าหมายการให้บริการของหน่วยงาน 3. ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ผลผลิตระดับกรม 4. ร่วมกันกำหนด/ปรับปรุง/พัฒนาตัวชี้วัดในระดับต่าง ๆ 5. ผู้มีส่วนร่วมรับผิดชอบ - ในการบรรลุเป้าหมายกระทรวง/หน่วยงาน - การจัดเก็บข้อมูล - การจัดทำตัวชี้วัด 6. การมีอยู่ของข้อมูล ความสมบูรณ์ สถานะของข้อมูล แนวทางในการ จัดเก็บ การปรับปรุง
ทบทวนว่าหน่วยงานมีส่วนร่วมในการนำส่งผลผลิตใดบ้างทบทวนว่าหน่วยงานมีส่วนร่วมในการนำส่งผลผลิตใดบ้าง ตัวอย่างผลผลิตที่รับผิดชอบ หน่วยดำเนินงาน 1. อำนวยการและสนับสนุนการบริหาร ราชการความมั่นคงของรัฐ 2. มาตรฐานและระบบการบริหารงาน บุคคลส่วนท้องถิ่น 3. การบริหารราชการส่วนกลางและ จังหวัดมีการบริหารจัดการที่ทันสมัย 1. สำนักงานปลัดกระทรวง ยุทธศาสตร์กระทรวง กลยุทธ์ของกรม • 1. การแก้ไขปัญหาความยากจนระดับอำเภอ • 2. ประชาชนได้รับการบำบัดทุกข์บำรุงสุข • 3. การเสริมสร้างและปลูกฝังวิถีชีวิตของ • ประชาชนในระบอบประชาธิปไตย • การบริหารจัดการระดับอำเภอในการสร้าง • สมดุลการใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์ • ทรัพยากรธรรมชาติ • เสริมสร้างความมั่นคงและการพัฒนา • จังหวัดชายแดนภาคใต้ 2. กรมการปกครอง
ทบทวนว่าหน่วยงานมีส่วนร่วมในการนำส่งผลผลิตใดบ้างทบทวนว่าหน่วยงานมีส่วนร่วมในการนำส่งผลผลิตใดบ้าง ตัวอย่างผลผลิตที่รับผิดชอบ หน่วยดำเนินงาน 1. ข้อมูลพื้นฐานชุมชนที่ได้รับการพัฒนาเป็น สารสนเทศชุมชนเพื่อการจัดการชุมชน 2. ชุมชนที่ได้รับการเพิ่มขีดความสามารถ ในการจัดการและแก้ไขปัญหาความยากจน 3. กลุ่มและครัวเรือนยากจนที่ได้รับการพัฒนา องค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อยกระดับ รายได้ 3. กรมการพัฒนาชุมชน ยุทธศาสตร์กระทรวง กลยุทธ์ของกรม • 1. ที่ดินของรัฐที่จัดให้แก่ประชาชนที่ยากจน • 2. โฉนดที่ดินที่ออกให้แก่ประชาชน • 3. จำนวนแปลงที่ดินที่ได้รับการเดินสำรวจ • เตรียมการออกโฉนดที่ดิน • ที่ดินของรัฐที่ได้รับการบริหารจัดการ • งานด้านทะเบียนและรังวัดที่ดินที่บริการให้แก่ • ประชาชน 4. กรมที่ดิน
ทบทวนว่าหน่วยงานมีส่วนร่วมในการนำส่งผลผลิตใดบ้างทบทวนว่าหน่วยงานมีส่วนร่วมในการนำส่งผลผลิตใดบ้าง ตัวอย่างผลผลิตที่รับผิดชอบ หน่วยดำเนินงาน 1. ชุมชนได้รับการพัฒนาและมีความพร้อมด้าน การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2. ประชาชนได้รับการซ้อมแผนและช่วยเหลือ บรรเทา ฟื้นฟูสาธารณภัย 5. กรมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย ยุทธศาสตร์กระทรวง กลยุทธ์ของกรม • 1. งานด้านช่างที่ให้บริการ • 2. มาตรการกำกับดูแลความปลอดภัยในชีวิต • และทรัพย์สินเกี่ยวกับอาคารและการใช้ • ประโยชน์ที่ดินจากการบังคับใช้ • 3. ระบบป้องกันน้ำท่วมพื้นที่ชุมชนที่จัดทำ • 4. ผังเมืองที่จัดทำ • ที่ดินที่ได้รับการจัดรูปฯ เพื่อพัฒนาพื้นที่ • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับการ • สนับสนุนและเสริมสร้างด้านการผังเมือง 6. กรมโยธาธิการและ ผังเมือง
ทบทวนว่าหน่วยงานมีส่วนร่วมในการนำส่งผลผลิตใดบ้างทบทวนว่าหน่วยงานมีส่วนร่วมในการนำส่งผลผลิตใดบ้าง ตัวอย่างผลผลิตที่รับผิดชอบ หน่วยดำเนินงาน • อปท. มีประสิทธิภาพในการบริหารและจัดบริการสาธารณะ 7. กรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่น ยุทธศาสตร์กระทรวง กลยุทธ์ของกรม
บทเรียนหน่วยงานนำร่องบทเรียนหน่วยงานนำร่อง
ภาพรวมหน่วยงาน ผลการปฏิบัติราชการ อื่นๆ การเงิน การจัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะรายปี
การส่งเสริมประชาธิปไตย และ กระบวนการประชาสังคม จัดทำรายงานการดำเนินงานของรัฐต่อสาธารณะเป็นรายปี ในทุกระดับของหน่วยงาน เพื่อใช้ประเมินผลภาพรวมของประเทศ 1. รายงานประจำปีของหน่วยงาน (Annual Report) 2. รายงานประจำปีของประเทศ (National Annual Report) แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 รายงานของรัฐต่อสาธารณะรายปี กลยุทธ์หลัก 7.1.4
วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร ร า ย ง า น เพื่อรายงานผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของแผนปฏิบัติราชการประจำปี รวมทั้งรายงานด้านการเงินของหน่วยงานให้สาธารณะได้รับทราบ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในบทบาท ภารกิจ และการดำเนินงานของส่วนราชการ อันจะนำไปสู่การมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาประเทศ หรือการนำไปใช้ประโยชน์ของสาธารณชน เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบในการจัดทำรายงานการประเมินผลภาพรวมการพัฒนาประเทศรายปี (National Annual Report) ในระยะต่อไป แ น ว ท า ง ก า ร จั ด ทำ ร า ย ง า น
1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ส่วนที่ 3 รายงานการเงิน ส่วนที่ 4 เรื่องอื่นๆ ส่วนที่ องค์ประกอบรายงานประจำปีของหน่วยงาน
1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน ส่วนที่ วิสัยทัศน์ ได้แก่ จุดหมายปลายทาง ที่หน่วยงานต้องไปให้ถึง พันธกิจ/ภารกิจ ได้แก่ การแสดงขอบเขตบทบาทของหน่วยงานที่ต้องทำ ตามหน้าที่รับผิดชอบต่อสังคมอย่างมีบูรณาการ ประกอบด้วย การกิจตามกฎหมาย และ ภารกิจหลักที่ได้รับมอบหมาย ประเด็นยุทธศาสตร์ ได้แก่ จุดเน้น หรือเรื่องที่มีความสำคัญ ซึ่งหน่วยงานเลือกที่จะดำเนินการเพื่อให้บรรลุพันธกิจของหน่วยงาน เป้าประสงค์ได้แก่ สิ่งที่หน่วยงานต้องการจะบรรลุผลตามประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ได้แก่ แนวทาง วิธีการ มาตรการ ที่จะนำไปสู่การบรรลุผลตามเป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ ข้อมูลพื้นฐานของหน่วยงาน งบประมาณรายจ่ายประจำปีที่ประกาศเป็น พ.ร.บ.รายจ่ายประจำปีและงบ ประมาณราย จ่ายเพิ่มเติม แยกตามหมวดงบประมาณและยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน โครงสร้างองค์กรแสดงแผนผังโครงสร้างองค์กรในปัจจุบัน อัตรากำลังแสดงจำนวนเจ้าหน้าที่แยกตามระดับ โดยอาจเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา แผนกลยุทธ์/แผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน
2 ส่วนที่ ผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ปัญหา อุปสรรค เงื่อนไขความสำเร็จ ผลผลิต ข้อเสนอแนะ ผลลัพธ์ หมายถึง ผลการดำเนิน งานของกิจกรรมภายใต้กลยุทธ์ของหน่วยงาน หมายถึง ผลอันสืบเนื่องจากการปฏิบัติภารกิจ ทั้งที่คาดหมายและไม่ได้คาดหมาย เสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา ทั้งในระดับหน่วยงาน ระดับกระทรวง หรือระดับนโยบาย ของการดำเนิน งาน ทั้งที่ได้ดำ เนินการไปแล้ว หรือระหว่างดำเนินงาน ผลการปฏิบัติราชการภายใต้แผนปฏิบัติราชการประจำปี ของหน่วยงาน ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติราชการที่สอดคล้องกับผลผลิตตาม พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีและแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ผลการประเมินความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงาน
3 ส่วนที่ รายงานการเงิน งบการเงิน งบแสดงฐานะการเงิน ประกอบด้วย สินทรัพย์ หนี้สิน และสินทรัพย์สุทธิ งบรายได้และค่าใช้จ่าย แสดงรายได้ที่เกิดจากการดำเนินงาน รายการที่ไม่เกิดจากการดำเนินงาน รายการพิเศษ และรายการที่เกี่ยวกับรายได้แผ่นดิน หมายเหตุประกอบงบการเงิน แสดงข้อมูลเพิ่มเติมจากรายการในงบการเงิน ต้นทุนผลผลิตและกิจกรรม การวิเคราะห์งบการเงิน แสดงต้นทุนผลผลิตและกิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง (คำนวณขึ้นตามหนังสือสั่งการเรื่องหลักเกณฑ์การคำนวณต้นทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลาง) แสดงการวิเคราะห์ • ต้นทุนรวมผลผลิตตามเอกสารงบประมาณ • ต้นทุนกิจกรรมหลักตามเอกสารงบประมาณ • ต้นทุนผลผลิตย่อยและต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตย่อยเปรียบเทียบ 2 ปีงบประมาณ การย่อส่วนตามแนวดิ่ง การวิเคราะห์ตามแนวนอน
4 เรื่องอื่นๆ ส่วนที่ เป็นการรายงานเพิ่มเติมในเรื่องที่หน่วยงานพิจารณาแล้วเห็นสมควรที่จะรายงานเพิ่มเติมต่อสาธารณชน อาทิ ภารกิจพิเศษที่ได้รับมอบหมายจากคณะรัฐมนตรี หรือภารกิจที่ได้ดำเนินการเพื่อให้บรรลุความคาดหวังและความพึงพอใจของสาธารณชน เป็นต้น
องค์ประกอบรายงานประจำปีของประเทศองค์ประกอบรายงานประจำปีของประเทศ กระทรวง ส่วนที่ 2 : ภาพรวมผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ผลการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี ส่วนที่ 1 : ภาพรวมนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ รายงานสรุปภาพรวมนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ รายงาน ประจำปี ของหน่วยงาน ส่วนที่ 3 : รายงานการเงิน รายงานการเงินแผ่นดิน ต้นทุนผลผลิต การวิเคราะห์งบการเงิน ส่วนที่ 4: เรื่องอื่นๆ
กรอบระยะเวลาจัดทำรายงานกรอบระยะเวลาจัดทำรายงาน ภายในสิ้นเดือนกุมภาพันธ์ ภายในสิ้นเดือนมีนาคม ภายในสิ้นเดือนมกราคม สศช./ กรมบัญชีกลาง กระทรวง กรม ประมวลสังเคราะห์รายงานของกรมเป็นระดับกระทรวง นำเสนอ ครม.เพื่อทราบ พร้อมส่งสำเนารายงานกระทรวงให้ สศช. กรมบัญชีกลาง สังเคาะห์รายงานระดับกระทรวง จัดทำเป็นรายงานภาพรวมของประเทศ และนำเสนอครม. จัดทำรายงานระดับกรมส่งกระทรวง และเผยแพร่ต่อสาธารณะ
แผนการดำเนินงาน ดำเนินการในหน่วยงานนำร่อง ปี 2551 ปรับปรุงการจัดทำรายงาน ปี 2552 จัดทำรายงานประจำปีของประเทศ ปี 2553
www.nesdb.go.th Somchai-s@nesdb.go.th