531 likes | 717 Views
ภาวะอุตสาหกรรมการเลี้ยงโคนมในปัจจุบัน (2). นำเสนอโดย นายอุดม นวลหนูปล้อง นักวิชาการสหกรณ์ 8ว กรมส่งเสริมสหกรณ์ E-mail : Udom_nu@yahoo.co.uk. หัวข้อ. - ภาพรวมอุตสาหกรรมโคนมไทย - การบริหารจัดการนมทั้งระบบ - การเปิดตลาดการค้าเสรี WTO – FTA
E N D
ภาวะอุตสาหกรรมการเลี้ยงโคนมในปัจจุบันภาวะอุตสาหกรรมการเลี้ยงโคนมในปัจจุบัน (2) นำเสนอโดย นายอุดม นวลหนูปล้อง นักวิชาการสหกรณ์ 8ว กรมส่งเสริมสหกรณ์ E-mail : Udom_nu@yahoo.co.uk
หัวข้อ - ภาพรวมอุตสาหกรรมโคนมไทย - การบริหารจัดการนมทั้งระบบ - การเปิดตลาดการค้าเสรี WTO – FTA - แนวโน้มการผลิตและการตลาดนมและผลิตภัณฑ์นมปี 2550 • ปัญหาการเลี้ยงโคนมในประเทศไทย • แนวทางการส่งเสริมพัฒนาการเลี้ยงโคนม
ภาพรวมศูนย์รวมนมและโรงงานภาพรวมศูนย์รวมนมและโรงงาน • ศูนย์รวมนมมีรวม 180 ศูนย์ • - ศูนย์รวมนมสหกรณ์ 117 ศูนย์ • - ศูนย์รวมนมของเอกชน 63 ศูนย์ • จำนวนโรงงานมีทั้งสิ้น 75 โรงงาน กำลังการผลิต • รวม 2,779 ตัน/วัน • - โรงงานผลิตนมยูเอชที 15 โรงงาน • - โรงงานผลิตนมพาสเจอร์ไรส์ 60 โรงงาน • น้ำนมดิบที่ผลิตได้ (2,260 ตัน/วัน) เมื่อเทียบกับกำลังการผลิต • คิดเป็น 80% ของกำลังการผลิต
ภาพรวมแผนที่แสดงความหนาแน่นของจำนวนแม่โคนมภาพรวมแผนที่แสดงความหนาแน่นของจำนวนแม่โคนม โคนม 522,000 ตัว แม่โค 309,656 ตัว เกษตรกร 23,439 ครัวเรือน -สหกรณ์ (117) 18,048 ครัวเรือน -เอกชน (63) 5,391 ครัวเรือน แม่โค 0 7 จังหวัด 1 - 999 46 จังหวัด 1,000 - 2,999 12 จังหวัด 3,000 - 5,999 2 จังหวัด 6,000 - 9,999 2 จังหวัด >10,000 7 จังหวัด หน่วย : ตัว ที่มา : กรมปศุสัตว์
โซนที่ 1 มี 17 จังหวัด ศูนย์รวมนม 40ศูนย์ -ศูนย์สหกรณ์ 27 ศูนย์ -ศูนย์เอกชน 13 ศูนย์ เกษตรกร 3,087 ครัวเรือน โคนม 32,468 ตัว น้ำนมดิบ 193 ตัน/วัน โรงงานแปรรูปนม 19 แห่ง -UHT 5แห่ง -Past 14แห่ง กำลังการผลิต 515 ตัน/วัน นมโรงเรียน 220 ตัน/วัน แผนที่ โซน โซนที่ 3 มี 19 จังหวัด ศูนย์รวมนม 58ศูนย์ -ศูนย์สหกรณ์ 39 ศูนย์ -ศูนย์เอกชน 19 ศูนย์ เกษตรกร 5,414 ครัวเรือน โคนม 82,021 ตัว น้ำนมดิบ 453 ตัน/วัน โรงงานแปรรูปนม 21 แห่ง -UHT 2แห่ง -Past 19แห่ง กำลังการผลิต 418 ตัน/วัน นมโรงเรียน 490 ตัน/วัน โซนที่ 4 มี 21 จังหวัด ศูนย์รวมนม 37ศูนย์ -ศูนย์สหกรณ์ 26 ศูนย์ -ศูนย์เอกชน 11 ศูนย์ เกษตรกร 6,974 ครัวเรือน โคนม 133,066 ตัว น้ำนมดิบ 623 ตัน/วัน โรงงานแปรรูปนม 18 แห่ง -UHT 2แห่ง -Past 16แห่ง กำลังการผลิต 778 ตัน/วัน นมโรงเรียน 260 ตัน/วัน โซนที่ 2 มี 19 จังหวัด ศูนย์รวมนม 45ศูนย์ -ศูนย์สหกรณ์ 25 ศูนย์ -ศูนย์เอกชน 20 ศูนย์ เกษตรกร 7,973 ครัวเรือน โคนม 160,795 ตัว น้ำนมดิบ 922 ตัน/วัน โรงงานแปรรูปนม 17 แห่ง -UHT 6แห่ง -Past 11แห่ง กำลังการผลิต 1,068 ตัน/วัน นมโรงเรียน 230 ตัน/วัน โรงงานUHT โรงงานpast. สหกรณ์โคนม ศูนย์เอกชน
ภาพรวมโครงสร้างอุตสาหกรรมโคนมของไทยภาพรวมโครงสร้างอุตสาหกรรมโคนมของไทย ตลาดนมพาณิชย์ ใช้นมดิบหรือนมผงผลิต ผู้บริโภค เกษตรกรโคนม ผลิตน้ำนมดิบ สหกรณ์โคนม ศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ รับซื้อน้ำนมดิบ โรงงานแปรรูป ผลิตภัณฑ์นม นมผงนำเข้า ตลาดนมโรงเรียน (ใช้เฉพาะนมดิบผลิต
โครงสร้างอุตสาหกรรมนมไทยโครงสร้างอุตสาหกรรมนมไทย ผู้ประกอบการมากราย (Fragmented Industry) นมพร้อมดื่ม (97%) เนยแข็ง (2.8%) ร้านค้าทั่วไป (0.2%) นมพร้อมดื่ม 841,701 ตัน - พาณิชย์ 13,000 ล้านบาท 353,586 ตัน (42.00%) - ร.ร. 7,000 ล้านบาท 253,675 ตัน (30.14%) เกษตรกร 23,439 ราย โคนม 408,350 ตัว นมดิบ 824,900 ตัน ศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ - สหกรณ์ 117 สหกรณ์ 610,426 ตัน (74%) - เอกชน 63 ราย 214,474 ตัน (26%) • -ผู้ผลิต UHT 15 ราย • ผู้ผลิตพาสเจอร์ไรส์ 60 ราย • สหกรณ์ 16 ราย • สถาบันการศึกษา 18 ราย • เอกชนรายย่อย 26 ราย • - ผู้ผลิตเนยแข็ง 8 ราย นมเปรี้ยวและเนยแข็ง 10,000 ล้านบาท 234,440 ตัน (27.86%)
นมดิบ (2,185.88 ตัน/วัน) นมโรงเรียน(790.15 ตัน/วัน) นมผงขาดมันเนย (57,200 ตัน) การบริหารจัดการนมทั้งระบบปี 2550 คณะกรรมการพัฒนาโคนมและผลิตภัณฑ์ มีคำสั่งที่ 1/2549 ลว. 14 ธ.ค. 49 แต่งตั้งคณะอนุกรรมการบริหารนมทั้งระบบ ให้ชุมนุมสหกรณ์โคนมแห่งประเทศไทย จำกัด เป็นหน่วยงานหลัก ให้องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย เป็นหน่วยงานหลัก นมดิบ 1,395.73 ตัน/วัน ให้กรมปศุสัตว์ เป็นหน่วยงานหลัก มติ ครม.เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2548
การบริหารจัดการน้ำนมดิบปี 2550 ให้ชุมนุมสหกรณ์โคนมแห่งประเทศไทย จำกัด เป็นหน่วยงานหลัก -ตรวจสอบปริมาณการผลิตน้ำนมดิบ -เจรจาซื้อขายน้ำนมดิบกับโรงงาน -บริหารจัดการน้ำนมดิบให้กับโรงงานตามข้อตกลงซื้อขาย คณะอนุกรรมการบริหารน้ำนมดิบ คณะทำงานพิจารณาจัดสรรปริมาณน้ำนมดิบให้กับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมนม คำสั่งคณะกรรมการพัฒนาโคนมและผลิตภัณฑ์ที่ 1/2549 ลว. 14 ธ.ค. 49 รองปลัด กษ. เป็นประธาน อสส. เป็นเลขานุการ
การบริหารจัดการการ นมโรงเรียนปี 2550 ให้องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย เป็นหน่วยงานหลัก -กำหนดสัดส่วนน้ำนมดิบและนมโรงเรียนให้เหมาะสมตามศักยภาพของผู้ประกอบการ -จัดโซนพื้นที่การผลิตและโรงเรียนให้อยู่ในแหล่งเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน เพื่อการบริหารระบบ Logistic ได้อย่างมีประสิทธิภาพ คณะอนุกรรมการบริหารโครงการอาหารเสริม(นมโรงเรียน) คณะอนุกรรมการรับรองสิทธิการจำหน่ายนมในโครงการอาหารเสริม(นม) ประธานกรรมการ ชสคท. เป็นประธาน ผู้แทนกรมส่งเสริมสหกรณ์ เป็นเลขานุการ (3 ม.ค.50) คำสั่งคณะกรรมการพัฒนาโคนมและผลิตภัณฑ์ ที่ 2/2550 ลว.26 ม.ค. 50 ประธานกรรมการ อ.ส.ค. เป็นประธาน ผอ.อ.ส.ค. เป็นเลขานุการ
การบริหารจัดการการ นมผงขาดมันเนยปี 2550 ให้กรมปศุสัตว์ เป็นหน่วยงานหลัก -จัดสัดส่วนโควตานำเข้านมผงขาดมันเนยให้เป็นธรรม โดยจัดแบ่งผู้นำเข้าเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่รับซื้อน้ำนมดิบจัดให้ร้อยละ 80 และกลุ่มผู้ประกอบการทั่วไปจัดให้ร้อยละ 20 ของปริมาณที่เปิดตลาดปกติ -ให้ผู้ประกอบการทุกกลุ่มเข้ามามีส่วนรับผิดชอบช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม คณะอนุกรรมการพิจารณาจัดสรรโควตาและอัตราภาษีนำเข้านมผงขาดมันเนย คำสั่งคณะกรรมการพัฒนาโคนมและผลิตภัณฑ์ ที่ 4/2550 ลว. 16 ก.พ. 50 อธิบดีกรมปศุสัตว์ เป็นประธาน ผอ.สำนกพัฒนาการปศุสัตว์ฯ เป็นเลขานุการ
การบริหารจัดการน้ำนมดิบปี 2550 น้ำนมดิบ 2,185.88 ตัน/วัน ผู้ประกอบการนมพาสเจอร์ไรส์รายย่อย 53 ราย 392.21 ตัน/วัน(17.94%) ผู้ประกอบการ แปรรูปรายใหญ่ 20 ราย 1,793.67 ตัน/วัน (82.06%) MOU ลงวันที่ 9 มีนาคม 2550 ตั้งแต่ 1 เมษายน 2550- 31 มีนาคม 2551 -ราคารับซื้อหน้าโรงงาน 13.75 บาท/กก.
การจัดทำบันทึกข้อตกลงการจำหน่ายน้ำนมดิบปี 2547 -2550
การจัดทำบันทึกข้อตกลงการจำหน่ายน้ำนมดิบปี 2547 -2550(ต่อ)
โครงการอาหารเสริม(นม) • วัตถุประสงค์ -ให้เด็กและเยาวชนบริโภคนมอย่างต่อเนื่องตั้งแต่นักเรียนระดับอนุบาลถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 (สองภาคเรียน รวม 230 วัน/ปี) • การบริหารโครงการ - ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรุงเทพมหานคร สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ดำเนินการจัดซื้อ ภายใต้หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะอนุกรรมการบริหารโครงการอาหารเสริม(นม) กำหนด
เป้าหมาย/งบประมาณโครงการอาหารเสริม(นม)เป้าหมาย/งบประมาณโครงการอาหารเสริม(นม)
สิทธิการจำหน่ายนมโรงเรียนภาคเรียนที่ 1/ 2550 -น้ำนมดิบ 783.20 ตัน/วัน -สิทธิการจำหน่ายทั้งหมด 657,253,647 ถุง /กล่อง /ภาคเรียน -ราคากลางขนาดบรรจุ 200 ซี.ซี รสจืด นมพาสฯ 4.29บาท/ถุง นมยูเอชที 5.94 บาท/กล่อง หรือ 5.84 บาท/ซอง (มติ ครม. 24 เม.ย. 50) โซนที่ 1 ภาดเหนือ 17 จังหวัด -ผู้ประกอบการ 17 ราย -น้ำนมดิบ 169.46 ตัน/วัน -สิทธิ 140,957,969 ถุง/กล่อง(21.45%) โซนที่ 2 ภาดตะวันตก และภาคใต้ 22 จังหวัด -ผู้ประกอบการ 18 ราย -น้ำนมดิบ 176.24 ตัน/วัน -สิทธิ 146,587,093 ถุง/กล่อง(22.30%) โซนที่3 ภาดกลาง ตะวันออก และตะวันออกเฉียงเหนือ37 จังหวัด -ผู้ประกอบการ 41 ราย -น้ำนมดิบ 444.46 ตัน/วัน -สิทธิ 369,708,585 ถุง/กล่อง(56.25%)
การนำเข้านมผงขาดมันเนยการนำเข้านมผงขาดมันเนย
โควตานมผงปกติปี 2550 การจัดสรรโควตา นมผงขาดมันเนย 57,200 ตัน Non-dairy กลุ่มทั่วไป 11,440 ตัน (20.00 %) Dairy กลุ่มผู้รับซื้อน้ำนมดิบ 45,760 ตัน (80.00%) มติ ครม. 29 พฤศจิกายน 2548 จัดแบ่งผู้นำเข้าเป็น 2 กลุ่ม โดยให้ ทุกกลุ่มเข้ามามีส่วนร่วมรับผิดชอบช่วยเหลือเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนม
โควตานมผงปกติปี 2550 แยกตามกลุ่มผู้ผลิต กลุ่มนิติบุคคล ผู้ผลิตนมข้น 22,362.27 ตัน 39.09% การจัดสรรโควตา นมผงขาดมันเนย 57,200 ตัน (WTO 55,000 ตัน+ FTA 2,200 ตัน) กลุ่มนิติบุคคล ผู้ผลิตนมเปรี้ยว 9,945.57 ตัน 17.39% กลุ่มนิติบุคคล ผู้ประกอบการ แปรรูปอาหารนมอื่น ๆ 24,892.16 ตัน 43.52% อัตราภาษีในโควตา 5% และนอกโควตา WTO 216% และ TAFTA 194.4%
การเปิดตลาดตามข้อตกลง WTO + FTA
กำหนดวันเริ่มต้นบังคับใช้กำหนดวันเริ่มต้นบังคับใช้ • WTO มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2538 • FTA ไทย - ออสเตรเลีย มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2548 (ลงนามวันที่ 5 กรกฎาคม 2547) • FTA ไทย - นิวซีแลนด์ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2548 (ลงนามวันที่ 19 เมษายน 2548)
การเปิดตลาดนำเข้านมผงขาดมันเนย (WTO)+(FTA)
แหล่งนำเข้าผลิตภัณฑ์นมที่สำคัญแหล่งนำเข้าผลิตภัณฑ์นมที่สำคัญ • นมผงขาดมันเนย - นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย ยุโรปและอเมริกา • หางนม(เวย์)หวาน - จากอเมริกา ฝรั่งเศส ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ • นมผงเต็มมันเนย - จากนิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย และยุโรป • อาหารปนนมเลี้ยงทารก – จากนิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น และเนเธอร์แลนด์ • บัตเตอร์มิลล์- จากนิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย เนเธอร์แลนด์ และไอร์แลนด์
คนไทยบริโภคนมเพิ่มขึ้น แต่…ยังต่ำกว่าประเทศอื่น และ…ต่ำกว่า อัตราการเพิ่มขึ้นของน้ำนมดิบ
อัตราการบริโภคนมต่อคนต่อปีอัตราการบริโภคนมต่อคนต่อปี
รักคนไทย รักผู้เลี้ยงโคนมไทย รักใคร...ให้ดื่มนม จากโคนมของไทย
แนวโน้มการผลิตและการตลาด นมและผลิตภัณฑ์นมในปี 2550
แนวโน้มด้านการผลิตปี 2550 • คาดว่าผลผลิตน้ำนมดิบจะใกล้เคียงกับปี 2549 ประมาณ 2,185 ตัน/วัน เพราะเกษตรกรบางส่วนเลิกเลี้ยง - 75% ผลิตโดยสมาชิกสหกรณ์ - 25% ผลิตโดยเกษตรทั่วไป • ต้นทุนการผลิตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากราคาอาหารข้นและราคาน้ำมันเชื้อเพลิงสูงขึ้น
แนวโน้มด้านการตลาดปี 2550 • ราคาน้ำนมดิบคาดว่าน่าจะเปลี่ยนแปลง เนื่องจากแรงผลักดันของเกษตรกรและต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น • ราคาของผลิตภัณฑ์นม นมสด นมข้นหวาน นมผง และนมเปรี้ยวจะเพิ่มสูงขึ้นโดยปรับตัวเพิ่มขึ้นจากต้นทุนการผลิต • ภาวะตลาดผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศเปลี่ยนแปลงไม่มาก ความต้องการบริโภคเริ่มผ่อนคลายลง และต้องเผชิญกับปัจจัยลบ คือ ราคาน้ำมันดิบที่สูงขึ้นและราคานมผงขาดมันเนยจะยังสูง
ปัญหาการเลี้ยงโคนมในประเทศไทยปัญหาการเลี้ยงโคนมในประเทศไทย
ปัญหาธุรกิจการเลี้ยงโคนมของสหกรณ์ปัญหาธุรกิจการเลี้ยงโคนมของสหกรณ์ • ปัญหาด้านการผลิต • ปัญหาด้านการตลาด • ปัญหาด้านองค์กรและขบวนการ
ปัญหาด้านการผลิต • ตุ้นทุนการผลิตสูงเฉลี่ย 11.06 บาท/กก. (อาหารสัตว์>60%) • ผลผลิตของแม่โคนมยังต่ำ เฉลี่ย 11.29 กก./ตัว/วัน • เกษตรกรผู้เลี้ยงโคส่วนใหญ่เป็นรายร่อย/กระจัดกระจาย ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง (ขนาดฟาร์ม < 10 ตัว 39.68%, 11- 20 ตัว 31.48%) • ฟาร์มเลี้ยงโคนมส่วนใหญ่ยังไม่ได้การรับรองมาตรฐาน (ผ่าน 2,932 ฟาร์ม) • ขาดแคลนทุ่งหญ้า แหล่งอาหารหยาบที่มีคุณภาพ • การจัดทำระบบฐานข้อมูลโคนมยังไม่สมบูรณ์ • เจ้าหน้าที่มีไม่เพียงพอในการส่งเสริมแนะนำและให้บริการ • โรคระบาด ปากเท้าเปื่อย
ปัญหาด้านการตลาด ราคาน้ำนมดิบคงที่ตั้งแต่ปี 2541 ณ หน้าโรงงาน 12.50 บาท/กก. แต่เกษตรกรขายได้เฉลี่ย 11.40 บาท/กก. ในปี 2548 และ 11.24บาท/กก. ในปี 2549 โดยเพิ่งจะได้รับการปรับราคาเพิ่มเป็น 13.75 บาท/กก. เมื่อ 1 เม.ย. 50 คนไทยมีการบริโภคนมพร้อมดื่มค่อนข้างต่ำ (13.29 กก./คน/ปี) การเปิดเสรีการค้า WTO, FTA /สินค้าทดแทนอื่น /การแข่งขันที่รุนแรง มีประกาศมาตรฐานการรับซื้อน้ำนมดิบ จากเหตุผลด้านคุณภาพสินค้า ความปลอดภัยของผู้บริโภค และเหตุผลทางธุรกิจ ผลิตภัณฑ์นมของไทยยังไม่หลากหลาย (UHT, Past) ค่าขนส่งสูงขึ้น / น้ำมันมีราคาแพง / Logistic
ปัญหาด้านองค์กรและขบวนการปัญหาด้านองค์กรและขบวนการ • การบริหารจัดการและการกำหนดนโยบายขาดเอกภาพและความต่อเนื่องในการปฏิบัติ • ขาดความเข้มแข็งและความพร้อมในการบริหารจัดการ (คน/เงิน/ข้อมูลสารสนเทศ/เทคโนโลยี/เครื่องมืออุปกรณ์ มืออาชีพ + มาตรฐาน + เพียงพอ) • ขาดความเข้มแข็งในการดำเนินธุรกิจและการให้บริการ (ปัจจัยการผลิต/รวบรวมผลผลิต/การแปรรูป/การส่งเสริมแนะนำ/การให้บริการ/การมีส่วนร่วม/การสร้างเครือข่าย) • การต่อสู้ / แข่งขัน / ขัดแย้งผลประโยชน์ทางธุรกิจระหว่างกันเอง • ขาดเอกภาพขององค์กร และขบวนการในการบริหารจัดการนมทั้งระบบ
แนวทางส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจการเลี้ยงโคนมของสหกรณ์แนวทางส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจการเลี้ยงโคนมของสหกรณ์
ยุทธศาสตร์ T H A I M I L K “ลดรายจ่าย + เพิ่มรายได้ + ขยายโอกาส ” แนวทางส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจการเลี้ยงโคนม 1) ด้านการลดต้นทุนการผลิต 2) ด้านวิจัยและพัฒนาโคนมและผลิตภัณฑ์นม 3) ด้านการบริโภค/รณรงค์เพิ่มการบริโภคนมพร้อมดื่ม 4) ด้านการสร้างความเข้มแข็งให้องค์กร/ขบวนการโคนม 5) ด้านความร่วมมือทางการค้าทั้งภายในและระหว่างประเทศ
T H A I M I L K T : Technology Driven H : High Productivity A : Added Value I : Internal Network M : Market Focus I : International Standard L : Leverage Human Resource K : Knoeledge Transferred
ขั้นต้นขั้นกลางขั้นปลายขั้นต้นขั้นกลางขั้นปลาย เกษตรกร (เก่ง/ดี/มีความสุข) GMP,HACCP,ISO ผลิตภัณฑ์ นม ผลิตภัณฑ์ ผลพลอยได้ สินค้าคุณภาพ มาตรฐาน/ปลอดภัย Road Map การส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจการเลี้ยงโคนม สหกรณ์ ศูนย์รับ น้ำนมดิบ ผู้รับ น้ำนมดิบ โรงงาน แปรรูป GAP ที่ดิน พันธุ์โค อาหาร แรงงาน ภูมิอากาศ น้ำ น้ำนมดิบ คุณภาพ มาตรฐาน ผู้บริโภค และ อุตสาหกรรม ต่อเนื่อง ปัจจัยสนับสนุนที่เพียงพอ -การเงิน -วิชาการ (กสส./กปศ./อ.ส.ค./สหกรณ์/สศก./อื่น ๆ) -ความเข้มแข็งขององค์กร -มีนวรรตกรรม+ขยายตลาด -ถ่ายทอดความรู้สู่เกษตรกร (กสส./ กปศ./ อ.ส.ค./ สหกรณ์ / ผู้ประกอบการ) รณรงค์การบริโภค (อ.ส.ค./กปศ./กสส./สหกรณ์/ผู้ประกอบการ)
แนวทางการแก้ปัญหาในระดับฟาร์มแนวทางการแก้ปัญหาในระดับฟาร์ม • การลดต้นทุนค่าอาหารข้น และการจัดทำอาหารข้นผสมเอง • การพัฒนาอาหารหยาบให้มีคุณภาพและจัดการให้มีประสิทธิภาพ • การวางแผนการใช้อาหารข้นและอาหารหยาบในรอบปี และมีสถานที่จัดเก็บอาหารหยาบ/อาหารข้นให้พอเพียง • การปรับเปลี่ยนวิธีการให้อาหาร เช่น ให้อาหารในรูปแบบอาหารผสมสำเร็จ • การปลูกสร้างแหล่งอาหารหยาบคุณภาพดีภายในฟาร์ม
แนวทางการแก้ปัญหาในระดับฟาร์ม(ต่อ)แนวทางการแก้ปัญหาในระดับฟาร์ม(ต่อ) • การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการฟาร์มโดยเปลี่ยนจากฟาร์มขนาดเล็ก เป็นขนาดกลาง หรือขนาดใหญ่ หรือ การปรับสัดส่วนฝูงรีดนมให้ได้ 60% หรือ ลดภาระการเลี้ยงโคทดแทนฝูง • การปรับปรุงฟาร์มโคนมให้ได้ใบรับรองมาตรฐานฟาร์ม • การลดต้นทุนการผลิต และเพิ่มกำไรโดยจัดระบบการเลี้ยงโคนมในรูปกลุ่ม และใช้ทรัพย์สินส่วนกลางร่วมกัน เช่น โรงเรือน อุปกรณ์การรีดนม แปลงพืช อาหารสัตว์ หรือสาธารณูปโภคพื้นฐานอื่น ๆ เป็นต้น
แนวทางการแก้ปัญหาในระดับฟาร์ม(ต่อ)แนวทางการแก้ปัญหาในระดับฟาร์ม(ต่อ) • การจดบันทึกผลผลิตน้ำนม และรายรับรายจ่าย เพื่อทำบัญชีและคิดต้นทุนทุก ๆ สิ้นเดือนของสมาชิก และเพื่อประเมินสิ่งที่ทำให้ต้นทุนสูงขึ้น และจะแก้ไขอย่างไร • การเข้าอบรม แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และแสวงหาความรู้ เพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงฟาร์มของสมาชิก • การให้ความร่วมมือของสมาชิกในการช่วยสร้างองค์กรของตัวเองให้แข็งแรง เพื่อจะสามารถช่วยตัวสมาชิกได้ในยามมีปัญหา
แนวทางการแก้ปัญหาในระดับสหกรณ์/องค์กรแนวทางการแก้ปัญหาในระดับสหกรณ์/องค์กร • การจัดทำทะเบียนเกษตรกร ทะเบียนโคนม ในพื้นที่ดูแลของสหกรณ์ และศูนย์รวบรวมนม • ห้องปฏิบัติการคุณภาพน้ำนมดิบที่ได้มาตรฐานสำหรับการตรวจคุณภาพน้ำนมดิบเบื้องต้น • การจัดให้มีจำนวนสมาชิก และปริมาณน้ำนมดิบที่มีขนาดเหมาะสมสำหรับการดำเนินธุรกิจ • การรวมกลุ่มสหกรณ์โคนมในพื้นที่ใกล้เคียงเพื่อร่วมมือกันในการทำธุรกิจร่วมกัน เพื่อลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ เช่น การรวมซื้อปัจจัยการผลิต การรวมขายผลผลิต การส่งเสริมอาชีพ การผลิตโคสาวคุณภาพดีทดแทนฝูง และการบริการ
แนวทางการแก้ปัญหาในระดับสหกรณ์/องค์กร(ต่อ)แนวทางการแก้ปัญหาในระดับสหกรณ์/องค์กร(ต่อ) • การบริหารจัดการอาหารข้น อาหารหยาบและปัจจัยการผลิตให้แก่สมาชิก เพื่อให้ราคาถูกลง และมีคุณภาพ • การจัดหา และวางแผนการจัดเตรียมอาหารหยาบ และ/หรือ อาหารข้น ให้พอเพียงในรอบปีของสมาชิกสหกรณ์ • การสร้างเครือข่ายกับสหกรณ์การเกษตรอื่น ๆ ที่สามารถผลิตแหล่งวัตถุดิบอาหารหยาบ และ/หรือ อาหารข้น เพื่อให้ได้อาหารหยาบและอาหารข้นคุณภาพดี
แนวทางการแก้ปัญหาในระดับสหกรณ์/องค์กร(ต่อ)แนวทางการแก้ปัญหาในระดับสหกรณ์/องค์กร(ต่อ) • มีการตรวจสอบคุณภาพและคุณค่าทางโภชนะของวัตถุดิบอาหารหยาบและอาหารข้นอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ได้วัตถุดิบคุณภาพดี ซึ่งจะเป็นผลดีทั้งการให้ผลผลิต และประสิทธิภาพการใช้อาหาร • การติดตามแก้ไขปัญหาถึงระดับฟาร์ม และเกษตรกร และปรับความรู้ให้เกษตรกรอยู่ตลอดเวลา
แผนพัฒนาโคนม 10ปี (2548-2557)(ต่อ)
แผนพัฒนาโคนม 10ปี (2548-2557)(ต่อ)
แผนพัฒนาโคนม 10ปี (2548-2557)(ต่อ)